Page 106 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 106

538 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           ครั้งแพทย์ต้องการฝังเข็มบริเวณสะโพก เจ้าหน้าที่  เจ้าหน้าที่ช่วยแพทย์ และผู้รับบริการรู้สึกมั่นใจใน
           ต้องดึงกางเกงลง เพื่อให้เห็นตำาแหน่งที่จะปักเข็ม ส่ง  ความปลอดภัยเมื่อมารับบริการฝังเข็ม และไม่เปิด

           ผลทำาให้ผู้ป่วยรู้สึกถูกเปิดเผยร่างกายมากเกินไป รู้สึก  เผยร่างกายจนเกิดความอับอาย จึงเป็นประโยชน์ทั้ง
           อาย จากการสังเกตพฤติกรรมผู้ป่วยพบว่าผู้ป่วยมี  ผู้ให้และผู้รับบริการ เพิ่มความพึงพอใจในการมารับ
           สีหน้าวิตกกังวล และคอยเอามือดึงกางเกงให้ปกปิด  บริการฝังเข็ม

           บริเวณที่ถูกเปิดเผยดังกล่าว และแพทย์บางท่านมี     การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาชุด
           การปักผ่านกางเกงโดยไม่ดึงกางเกงลง ถึงแม้ว่าการ  ที่เหมาะสมสำาหรับผู้ป่วยฝังเข็ม
           ปักเข็มผ่านเสื้อผ้าจะไม่เคยเกิดอุบัติการณ์การติดเชื้อ

           แต่ผู้ป่วยอาจรู้สึกถึงความไม่สะอาด และเคยมีผู้ป่วย      ระเบียบวิธีศึกษ�
           ร้องเรียนเรื่องการปักเข็มผ่านเสื้อผ้า จึงมีความจำาเป็น     การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยและพัฒนา (research
           ในการพัฒนาชุดที่เหมาะสมสำาหรับผู้รับบริการฝังเข็ม   and development) ซึ่งได้ผ่านการรับรองโดยคณะ

           ซึ่งจากการสอบถาม โรงพยาบาลต่าง ๆ ที่เปิดให้บริการ  กรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัย
           ฝังเข็ม ยังไม่พบว่ามีการพัฒนาชุดสำาหรับการฝังเข็ม  มหิดล รหัสโครงการ MU-CIRB 2017/162.0709

           โดยเฉพาะ ดังนั้น นักวิจัยจึงสนใจศึกษาชุดที่เหมาะ  มีวัตถุประสงค์  เพื่อพัฒนาชุดที่เหมาะสมสำาหรับ
           สมสำาหรับผู้รับบริการฝังเข็ม โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับ  ผู้ป่วยฝังเข็ม ระยะที่ 1 ขั้นตอนการพัฒนาชุดที่เหมาะ
           การออกแบบ (product design) [9-10]  และแนวคิด  สมสำาหรับฝังเข็ม กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 27 คน แบ่ง

           ความเป็นส่วนตัวด้านร่างกาย (physical privacy)   เป็นแพทย์ที่ปฏิบัติงานคลินิกแพทย์แผนจีนในเวลา
           ซึ่งก่อนทำาการรักษาพยาบาลต้องผ่านกระบวนการ  ราชการ จำานวน 9 คน เจ้าหน้าที่ช่วยแพทย์ (พยาบาล

           ขอความยินยอม (informed consent) แพทย์จึง    หรือผู้ช่วยพยาบาล) จำานวน 9 คน และผู้ป่วยที่มารับ
           สามารถดำาเนินการตรวจร่างกายผู้ป่วยได้ นอกจากนี้   บริการคลินิกแพทย์แผนจีนในเวลาราชการ ที่มีอายุ
           หลัก Physical privacy ยังกำาหนดให้แพทย์มีหน้า  18 ปีขึ้นไป จำานวน 9 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่าง

           ที่ปกป้องผู้ป่วยจากการถูกเปิดเผยร่างกายโดยไม่  แพทย์และเจ้าหน้าที่ช่วยแพทย์ใช้วิธีการสุ่มด้วย
           จำาเป็นหรือก่อให้เกิดความน่าอับอายกับผู้ป่วยอีก  คอมพิวเตอร์ ส่วนผู้ป่วยสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการเลือก
               [11]
           ด้วย  อีกทั้ง พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทหน้าที่ใน  แบบเจาะจง ทำาการสัมภาษณ์เกี่ยวกับข้อมูลเสื้อแขนสั้น
           การคุ้มครองสิทธิและศักดิ์ศรีของผู้ป่วยตามจรรยา  และกางเกงขายาวชุดเดิมที่ใช้ขณะฝังเข็ม และความ
           บรรณวิชาชีพ จึงไม่ควรเปิดเผยร่างกายผู้ป่วยมาก  ต้องการรูปแบบเสื้อและกางเกงชุดใหม่ ในประเด็น
           จนเกินไปขณะฝังเข็ม โดยสามารถแบ่งเป็น 5 ด้าน   1) ด้านประโยชน์ใช้สอย 2) ด้านความสวยงาม 3) ด้าน

           ดังนี้ 1) ด้านประโยชน์ใช้สอย 2) ด้านความสวยงาม    ความสะดวกสบาย 4) ด้านความปลอดภัย และ 5) ด้าน
           3) ด้านความสะดวกสบาย 4) ด้านความปลอดภัย     ความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย จากแพทย์จำานวน 3 คน

           5) ด้านความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย เพื่อพัฒนาชุด  เจ้าหน้าที่ช่วยแพทย์จำานวน 3 คน และผู้ป่วยจำานวน 3
           ที่เหมาะสมสำาหรับผู้รับบริการฝังเข็ม ทำาให้แพทย์  คน นำาผลการวิเคราะห์มาพัฒนาเป็นชุดต้นแบบ 1 (เสื้อ
           หาจุดฝังเข็มได้ง่าย สะดวกในการเตรียมผู้ป่วยของ  แขนสั้นและกางเกงขาสั้น) นำาชุดต้นแบบ 1 มาทดลอง
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111