Page 85 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 85
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 517
ตารางที่ 4 องศาการงอของนิ้วมือในผู้ป่วยโรคนิ้วล็อกระดับที่ 2 ก่อนและหลังได้รับการรักษาเป็นเวลา 1 เดือน
องศาการงอนิ้วมือ Mean SD p-value
ก่อนการรักษา 50.50 25.17 0.00*
หลังการรักษา 65.95 20.90
*ระดับนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05
ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยองศาการงอของนิ้วมือ ก่อนการรักษา หลังการรักษา และการติดตามอาการหลังสิ้นสุดการรักษา
ไปแล้ว
องศาการงอนิ้วมือ Mean S.D.
ก่อนการรักษา 50.50 25.17
หลังการรักษาครบ 1 เดือน 65.95 20.90
หลังสิ้นสุดการรักษาไปแล้ว 2 สัปดาห์ 59.30 25.34
หลังสิ้นสุดการรักษาไปแล้ว 1 เดือน 55.35 25.43
ตารางที่ 6 ระดับความพึงพอใจของผู้ป่วยโรคนิ้วล็อกหลังได้รับการรักษา
รายละเอียดการประเมิน Mean S.D. ระดับ
ด้านเวลา 4.56 0.35 มากที่สุด
ด้านการศึกษา 4.87 0.18 มากที่สุด
ด้านการน�าไปใช้และความเชื่อมั่น 4.98 0.07 มากที่สุด
รวม 4.80 0.17 มากที่สุด
องศาการงอของนิ้วมือ มือ เท่ากับ 59.30 ± 25.34 และ 55.35 ± 25.43 ตาม
ค่าเฉลี่ยองศาการงอของนิ้วมือในผู้ป่วยโรคนิ้ว ลำาดับ ดังตารางที่ 5
ล็อกระดับที่ 2 ก่อนและหลังการได้รับการรักษาครบ ความพึงพอใจของผู้ป่วย
1 เดือน เท่ากับ 50.50 ± 25.17 และ 65.95 ± 20.90 การประเมินระดับความพึงพอใจของผู้ป่วยโรค
ตามลำาดับ หลังได้รับการกักน้ำามันหญ้าขัดมอญเป็น นิ้วล็อกระดับที่ 2 ต่อการรักษาโรคนิ้วล็อกโดยการกัก
เวลา 1 เดือน พบว่าองศาการงอของนิ้วมือเพิ่มขึ้นอย่าง น้ำามันหญ้าขัดมอญ แบ่งเป็น 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้าน
มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ p < 0.05 ดังตารางที่ 4 เวลา ด้านการศึกษา ด้านการนำาไปใช้และความเชื่อมั่น
จากการติดตามอาการหลังได้รับการรักษาครบ 1 พบว่ามีความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.56, 4.87 และ 4.98
เดือน จำานวน 2 ครั้ง พบว่า หลังจากสิ้นสุดการรักษาไป ตามลำาดับ ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุดทั้ง 3 ด้าน รวมทั้ง
แล้ว 2 สัปดาห์ และ 1 เดือน เมื่อวัดองศาการงอของนิ้ว 3 ด้าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 ± 0.17 ดังตารางที่ 6