Page 80 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 80

512 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




                (ดังนั้น Power = 1 – b = 95 % ) ดังนั้น ค่า   ตัวอย่างเท่ากับ 16.64 คน เพื่อป้องกันการสูญหายของ
           Z _b จากการเปิดตาราง = 1.645                กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยจึงใช้กลุ่มตัวอย่างจำานวน 20 คน

                [หมายเหตุ ถ้า b = 0.20 (Power = 80% ค่า      เกณฑ์ในการคัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัย (Inclu-
           Z_b = 0.84), ถ้า b = 0.10 (Power = 96%) ค่า = Zb   sion criteria) มีดังนี้
           1.28)]                                          1.  เพศชายและหญิง อายุ 25 ปีขึ้นไป

                m =  m – m (mean difference) หรือ x1-x2      2.  มีอาการนิ้วล็อกในระยะที่ 2 คือมีอาการ
                 d    2   1
           = ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยทั้งค่าเฉลี่ยจาก Pre test   สะดุดเวลาขยับนิ้ว กำาหรือเหยียดนิ้ว แต่ยังสามารถ
           และค่าเฉลี่ยจาก Post test                   เหยียดนิ้วได้เอง

                σ  =  standard deviation of  mean          3.  ได้รับการคัดกรองตามวิธีการทางหัตถเวช
           difference                                  กรรมไทยของโรคนิ้วไกปืนหรือโรคลมปลายปัตคาต
                ผู้วิจัยพิจารณาค่า  m  และ σ จากงานวิจัยที่  ข้อนิ้วมือโดยแพทย์แผนไทย [13]
                                d
           ทำามาก่อนที่มีวัตถุประสงค์การวิจัยเหมือนกัน จาก     4.  ไม่เคยได้รับการผ่าตัดนิ้วล็อกมาก่อน
           การทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า งานวิจัยเรื่อง     5.  ไม่มีความผิดปกติเกี่ยวกับความรู้สึก

           การศึกษานำาร่องผลการรักษาและความพึงพอใจของ      6.  ไม่ได้อยู่ในช่วงที่รับประทานยาแก้ปวดหรือ
           ผู้ป่วยโรคนิ้วล็อกต่อการใช้อุปกรณ์พยุงข้อโคนนิ้ว  ฉีดสเตอรอยด์
                                       [12]
           มือ: การวิจัยแบบสุ่มมีกลุ่มควบคุม  เป็นงานวิจัย     7.  มีความสมัครใจเข้าร่วมการวิจัยและลงชื่อ
           ที่มีการประเมินผลการรักษาโดยวัดระดับความปวด  ยินยอมเข้าร่วมการวิจัย
           ก่อนและหลัง โดย m คือความแตกต่างของค่าเฉลี่ย     เกณฑ์ในการแยกผู้เข้าร่วมวิจัยออกจากการ
                           d
           คะแนนความเจ็บปวดก่อนและหลังได้รับการรักษา   วิจัย (Exclusion criteria) มีดังนี้
           ของกลุ่มทดลอง เท่ากับ 3.5 (ค่าความเชื่อมั่นที่ 95%      1.  เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคข้อนิ้วมือ
           อำานาจการทดสอบ 80%) ค่า standard deviation ผู้  เสื่อม เกาต์ที่นิ้วมือ ข้ออักเสบรูมาตอยด์ โรคเนื้อเยื่อ

           วิจัยพิจารณาจากตัวที่มากที่สุด เท่ากับ 5.1 สามารถ  เกี่ยวพัน และโรคเบาหวาน
           คำานวณกลุ่มตัวอย่างได้ดังนี้                    2.  มือบวมหรือข้อนิ้วมืออักเสบ (Inflamma-
                                                       tory arthritis)

                                                           3.  มีประวัติเส้นเอ็นที่มือบาดเจ็บหรือฉีกขาด มี
                                                       ประวัติข้อนิ้วมือยึดติด กระดูกนิ้ว/ฝ่ามือแตกร้าวหรือ

                               2
                    (1.96+0.84)  (5.1) 2               หัก
                 =
                           (3.5) 2
                                                       เครื่องมือที่ใช้ในก�รเก็บรวบรวมข้อมูล
                      203.9184
                 =
                        12.25                              1.  แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสุขภาพ
                  = 16.64                              ของผู้ป่วย
                จากการคำานวณข้างต้นทำาให้ได้จำานวนกลุ่ม     2.  แบบติดตามผลการรักษา ประกอบด้วย
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85