Page 44 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 44
476 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
ปฏิบัติตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุขมาให้บริการ กิตติกรรมประก�ศ
การดูแลมารดาหลังคลอด และมีเพียงรูปแบบเดียว ขอขอบคุณผู้ตอบแบบสอบถามทุกท่านที่ได้ให้
คือการใช้ยาสมุนไพรกระตุ้นนำ้านม ซึ่งอาจเป็นไปได้ที่ ข้อมูลสำาหรับงานวิจัย
รูปแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการดูแล
มารดาหลังคลอดในพื้นที่นั้น ๆ มีน้อย หรือมีบ้างแต่
References
ไม่ได้มีการนำามาผสมผสานใช้ในสถานพยาบาล และ
1. Oatsawaphonthanaphat S, Chokevivat V, Srikam W.
มีความเป็นไปได้ที่การดูแลมารดาหลังคลอดตาม Safety, Effectiveness and Satisfaction of Postpartum
แนวทางของภูมิปัญญาพื้นบ้านเป็นการปฏิบัติกันเอง Mothers in Yoofai Treatment Based on Thai Traditional
Medicine. Journal of Thai Traditional & Alternative
ในครอบครัวที่นอกเหนือจากการได้รับการบริการจาก Medicine. 2018;16(1):99-110. (in Thai)
แพทย์แผนไทย ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมภูมิปัญญา 2. Meepradit K. Effects of herbal medicine recipes after
childbirth (thesis). Master’s degree of Pharmaceutical
พื้นบ้านร่วมกับแพทย์แผนไทยในการดูแลมารดา Sciences, Faculty of Pharmacy: Silpakorn University;
หลังคลอดจึงควรมีการรวบรวมองค์ความรู้ด้าน 2011. (in Thai)
ภูมิปัญญาพื้นบ้านที่เกี่ยวข้องกับการดูแลมารดาหลังค 3. Wisitchotaungkoon J. Local wisdom and self-care of Lisu
women (thesis). Master’s degree of Education Health
ลอดเพื่อทำาการถ่ายทอดสู่แพทย์แผนไทยจนสามารถ Promotion, Faculty of Education: Chiang Mai University;
นำาไปสู่การผสมผสานที่ลงตัวหรือการประยุกต์ที่ 2003. (in Thai)
4. National Statistical Office [Internet]. 2019 [cited 2020
สอดคล้องในการดูแลมารดาหลังคลอดอย่างเหมาะ August 27]; Available from: http://statbbi.nso.go.th/
สมต่อไป staticreport/page/sector/th/01.aspx
5. Kuntanun N, Khmer route tourism strategy. Journal of
Research and Development. 2007;2(1):9-13. (in Thai)
ข้อสรุป 6. Thongsong V. Roles and folk wisdom of midwives in
Phatthalung province (thesis). Master of Traditional Thai
การนำาภูมิปัญญาพื้นบ้านภาคอีสานมาผสม Medicine, Faculty of Traditional Thai Medicine. Prince
ผสานกับการดูแลมารดาหลังคลอดยังมีน้อย มีโรง of Songkla University; 2015. (in Thai)
7. Kamudchat P, Rattanakot J, Kaewdee A. Folk wisdom in
พยาบาลชุมชนเพียง 4 แห่ง ที่มีการนำาสมุนไพรกระตุ้น
the diet of mothers after childbirth. Case studies of Phu
นำ้านมมาใช้ในหญิงหลังคลอด ซึ่งควรมีการศึกษาและ Thai community T. Noenhoum A. Muang Sakhonakorn.
พัฒนาตำารับยากระตุ้นนำ้านมเหล่านี้ต่อไป Journal of Thaimed Research. 2018;4(2):39-56. (in Thai)
8. Pumthong S, Verasatiang L, Sittithawon W, Lungmakar-
นอกจากนี้ ควรศึกษาข้อมูลการให้บริการจาก at A, Pareratkul A. Postpartum care with Thai traditional
มุมมองจากผู้มารับบริการและการนำาภูมิปัญญาพื้น medicine of Amnatcharoen. Archives and Knowledge
of Health Systems, Health Systems Research Institute
บ้านมาใช้ในสถานบริการของรัฐ ซึ่งอาจศึกษาในแต่ละ [Internet]. 2018 [cited 2018 November 11]. Available from
พื้นที่ การให้บริการแต่ละภาคของประเทศไทย เพื่อนำา :http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/2996?locale-
attribute=th
มาเป็นแนวทางในการวางแผนและเผยแพร่องค์ความ 9. Verasombat N, Amattrawong D, Prakobkij W, Tuntha-
รู้ด้านการดูแลมารดาหลังคลอด และการผสมผสาน worn T, Sawatsri O, Maneeratnapun C, Jantarawivatn S,
Poltue P, Chueadet A, Satia W, Rakchantuek K, Narpas-
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลมารดาหลังคลอดและ awad K, Seesaard T, Sintupattanapun U, Saramunee K.
ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยได้อีกต่อไป Efficacy and safety of Plook–fai-tat Formula to increase