Page 42 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 42

474 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           2. ข้อมูลก�รให้บริก�รแพทย์แผนไทยในเรื่อง    การสอนพันผ้าหน้าท้อง การพอกผิวและการขัดผิว
           ดูแลม�รด�หลังคลอดในโรงพย�บ�ลชุมชนเขต        ด้วยสมุนไพร ส่วนการนั่งถ่าน (กรณีหญิงหลังคลอด
           สุขภ�พนครชัยบุรินทร์                        ปกติและแผลฝีเย็บไม่แห้ง) พบเพียงหนึ่งแห่งเท่านั้น

                ข้อมูลจากแบบสอบถามการตรวจประเมินและ
           สั่งการรักษาประเมินสภาพทั่วไปและสภาพหลังคลอด   3. ก�รดูแลม�รด�หลังคลอดของแพทย์แผน

           ที่มีการดำาเนินงานครบถ้วนมีเพียงการตรวจความดัน  ไทยที่ผสมผส�นกับภูมิปัญญ�ท้องถิ่นในโรง-
           โลหิต อัตราชีพจรและการหายใจ อุณหภูมิร่างกาย   พย�บ�ลชุมชนเขตสุขภ�พนครชัยบุรินทร์
           ครบในทุกโรงพยาบาล ในขณะการตรวจหน้าท้องเพื่อ     ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้จากแพทย์แผนไทย

           ประเมินลมในท้อง ขนาดและระดับของมดลูก และ    ในเขตพื้นที่ศึกษาถึงการผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่น
           แผลหน้าท้อง กรณีผ่าตัดหน้าท้อง และการตรวจดู   ที่มีการสืบทอดต่อเนื่องมาสำาหรับการดูแลมารดา
           เต้านม ลานนม หัวนม และการไหลของนำ้านม มีการ  หลังคลอดในการศึกษาครั้งนี้ แสดงถึงการนำา

           ดำาเนินการโดยแพทย์แผนไทยเกือบทุกโรงพยาบาล   ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพียงรูปแบบเดียว คือ การใช้ยา
           (91.0%)                                     สมุนไพรกระตุ้นนำ้านม โดยมีโรงพยาบาลที่มีการใช้ยา

                ผลการศึกษาจากข้อมูลแบบสอบถามแสดงให้    สมุนไพรในมารดาหลังคลอดเพื่อกระตุ้นนำ้านมจำานวน
           เห็นว่ากิจกรรมที่มีการดำาเนินการในทุกโรงพยาบาล  4 แห่งจากจังหวัดบุรีรัมย์และชัยภูมิ ข้อมูลที่ได้แสดง
           ประกอบด้วยการนวดไทย การประคบสมุนไพร การ     การใช้ตำารับยาสมุนไพรที่มีฤทธิ์ร้อน เป็นตำารับที่มีใน

           นึ่ง การนาบ การทับหม้อเกลือ การอบไอนำ้าสมุนไพร   ท้องถิ่นอยู่แล้ว จ่ายในรูปแบบยาต้ม หรือปรุงจ่าย
           การเข้ากระโจม และการให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับและการ  เฉพาะราย ผู้ตอบแบบสอบถามยังได้ระบุการเรียก

           ปฏิบัติตัวหลังคลอด ส่วนกิจกรรมที่มีการดำาเนินการ  ตำารับยา คือ ‘ยาประสะนำ้านม’ ที่มีส่วนประกอบเป็น
           เพียงบางส่วนในโรงพยาบาลคือ การอาบนำ้าสมุนไพร   สมุนไพรแห้ง (แก่นมะขาม ดีปลี พริกไทยดำา แก่นฝาง




           ตารางที่ 1 กิจกรรมการให้บริการมารดาหลังคลอดในโรงพยาบาล

            กิจกรรมการให้บริการมารดาหลังคลอดในโรงพยาบาล             จำานวน(คน)           ร้อยละ
            การนวดไทย                                                   67               100
            การประคบสมุนไพร                                             67               100
            การนึ่ง/การนาบ/การทับหม้อเกลือ                              67               100
                    ้
            การอบไอนำาสมุนไพร/การเข้ากระโจม                             67               100
            การนั่งถ่าน (กรณีหญิงหลังคลอดปกติและแผลฝีเย็บไม่แห้ง)        1                1.5
            การสอนพันผ้าหน้าท้อง                                        11               16.4
            การให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอด               67               100
            การพอกผิวและการขัดผิวด้วยสมุนไพร                            10               14.9
                   ้
            การอาบนำาสมุนไพร                                            12               17.9
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47