Page 40 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 40
472 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
ด้วยกิจกรรมหลัก 5 ขั้นตอนได้แก่ การนวดไทย ประสบการณ์ ถ่ายทอดสืบต่อกันมาในด้านการแพทย์
้
การประคบสมุนไพร การอบไอนำาสมุนไพร การทับ แผนไทยที่อาจมีการนำามาผสานกับศาสตร์แพทย์
หม้อเกลือ และการให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับการปฏิบัติตน แผนไทยเพื่อเพิ่มคุณภาพการดูแลหญิงหลังคลอด
[1]
ของมารดาหลังคลอด กิจกรรมอื่น ๆ ได้แก่ การสอน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นจึงเป็นที่น่าสนใจที่
พันผ้าหน้าท้อง การนั่งถ่าน การพอกผิวและการขัดผิว จะศึกษาการประยุกต์ศาสตร์การแพทย์แผนไทยที่
้
ด้วยสมุนไพร และการอาบนำาสมุนไพร สอดคล้องกับการปฏิบัติของแต่ละพื้นที่อาจมีความ
การแพทย์พื้นบ้าน การใช้ยาสมุนไพรในการ แตกต่างกันออกไป โดยอาจจะอาศัยความรู้ของหมอ
ดูแลมารดาหลังคลอดในเขตนครชัยบุรินทร์มีการให้ พื้นบ้านซึ่งเกิดจากการเรียนรู้หรือสืบทอดความรู้มา
บริการดูแลมารดาหลังคลอดกระจายอย่างทั่วถึงใน จากบรรพบุรุษ คำาบอกเล่าที่สืบทอดกันมา นอกจาก
โรงพยาบาลชุมชนทั้ง 4 จังหวัด และได้มีการศึกษา นี้การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ
ตำารับยาสมุนไพรหลังคลอดที่มีต่อมารดาหลังคลอด ดูแลมารดาหลังคลอดที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นการเก็บ
ที่ใช้ในโรงพยาบาลกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ของขนิษฐา ข้อมูลจากผู้รับบริการ ได้แก่ มารดาหลังคลอดหรือผู้
[3]
มีประดิษฐ์ โดยการทดลองเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่าง ให้บริการ ได้แก่ หมอตำาแย หรือหมอพื้นบ้าน แต่ยัง
กับโรงพยาบาลพานทอง จังหวัดชลบุรี ที่ไม่ได้ใช้ตำารับ ไม่มีการรายงานจากผู้ให้บริการที่เป็นแพทย์แผนไทย
ยาสมุนไพรหลังคลอด จากผลงานวิจัยนี้ยืนยันได้ว่า ในสถานบริการของรัฐ
ตำารับยาสมุนไพร โรงพยาบาลกาบเชิง มีผลต่อการ “ดังนั้นจึงเป็นที่มาของการศึกษาเพื่อให้ทราบถึง
้
หดรัดตัวของมดลูก การขับนำาคาวปลา และสุขภาพ สถานภาพในการนำาเอาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์
โดยรวมของมารดาหลังคลอด อย่างมีค่านัยสำาคัญ ใช้ร่วมกับการบริการมารดาหลังคลอดตามศาสตร์การ
ทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งเพิ่มประสิทธิผลในการดูแลมารดา แพทย์แผนไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา
หลังคลอด [2] ขั้นต่อไป’’
บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการแพทย์แผนไทย
จำาเป็นต้องพัฒนาองค์ความรู้เพื่อให้การปฏิบัติเป็น ระเบียบวิธีศึกษ�
ไปในแนวทางที่ตรงตามมาตรฐานและได้รับการ เป็นวิจัยเชิงสำารวจ (survey research) โดย
เรียนรู้ข้อมูลความรู้ทางการแพทย์แผนไทยในการให้ ใช้แบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเอง (self-admin-
บริการมารดาหลังคลอด และก่อให้เกิดการพัฒนา istered questionnaire) มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา
งานด้านการแพทย์แผนไทยให้มีคุณภาพ เพื่อเป็นการ ข้อมูลการให้บริการมารดาหลังคลอดตามการแพทย์
พัฒนาการแพทย์แผนไทยให้ยั่งยืน เนื่องด้วยการ แผนไทยและศึกษาการดูแลมารดาหลังคลอดของ
ดูแลหญิงหลังคลอดมีการปฏิบัติต่อเนื่องกันมาอย่าง แพทย์แผนไทยที่ผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
ยาวนานตามสภาพสังคมไทย ในแต่ละพื้นที่มีการ ในโรงพยาบาลชุมชนในเขตสุขภาพนครชัยบุรินทร์
ถ่ายทอดองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่นในรูปแบบต่าง ๆ กัน โครงการวิจัยนี้เข้าข่ายยกเว้นการขอพิจารณา
จัดเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งหมายถึง องค์ความรู้ที่มี จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (exemption research)
อยู่ในพื้นที่นั้น ๆ ที่ได้รับการถ่ายทอดจากผู้รู้ ผู้ที่มี โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการการวิจัยใน