Page 41 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 41

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec  2020  473




            มนุษย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (HE 622059)       ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล
                                                             วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
            ประช�กรและกลุ่มตัวอย่�ง                     สำาเร็จรูป SPSS for windows ในการวิเคราะห์ความถี่

                 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่ปฏิบัติงาน  ร้อยละสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ สถิติพรรณนา
            ตำาแหน่งแพทย์แผนไทยซึ่งมีใบอนุญาตประกอบ     (descriptive statistics) ความถี่ ร้อยละ

            วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือด้านเวชกรรม
            ไทย ในโรงพยาบาลของชุมชนของรัฐในเขตนคร                     ผลก�รศึกษ�
            ชัยบุรินทร์ 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา

            ทั้งหมด 29 โรงพยาบาล จังหวัดบุรีรัมย์ทั้งหมด 21    1. ข้อมูลทั่วไป
            โรงพยาบาล จังหวัดสุรินทร์ทั้งหมด 16 โรงพยาบาล      ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามกลับคืนทางไปรษณีย์
            และ จังหวัดชัยภูมิทั้งหมด 14 โรงพยาบาล รวม  จำานวน 67 ฉบับจาก 80 โรงพยาบาล คิดเป็นร้อยละ

            ทั้งหมด 80 โรงพยาบาล                        83.75 กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามกลับมีครบทั้ง
                                                        4 จังหวัดในเขตสุขภาพนครชัยบุรินทร์ที่ทำาการศึกษา
            เครื่องมือที่ใช้                            โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามจากจังหวัดนครราชสีมา

                 ผู้วิจัยพัฒนาแบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเอง   มากที่สุด จำาแนกตามขนาดเตียงที่ปฏิบัติงานใน
            ซึ่งประกอบด้วยคำาถามแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน ได้แก่  โรงพยาบาลชุมชนของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่พบว่า

                 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป                 มีขนาด 31- 90 เตียง โดยผู้ที่ตอบแบบสอบถามทุก
                 ส่วนที่ 2 ข้อมูลการให้บริการแพทย์แผนไทยใน  คนเป็นผู้ที่ปฏิบัติงานตำาแหน่งแพทย์แผนไทยซึ่งมี

            เรื่องการดูแลมารดาหลังคลอดตามแบบแพทย์แผน    ใบประกอบวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์
            ไทยในโรงพยาบาลชุมชนเขตสุขภาพนครชัยบุรินทร์   หรือด้านเวชกรรมไทย ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่
                 ส่วนที่ 3 การดูแลมารดาหลังคลอดของการ   เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 26-30 ปี ระดับการศึกษา

            แพทย์แผนไทยที่ผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่นใน  สูงสุดคือระดับปริญญาตรี สาขาการแพทย์แผนไทย
            โรงพยาบาลชุมชนเขตสุขภาพนครชัยบุรินทร์       และสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ และจำาแนก
                 ผู้วิจัยส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังฝ่าย  ตามสาขาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และพบใบ

            งานแพทย์แผนไทยของแต่ละโรงพยาบาลเพื่อขอ      อนุญาตประกอบวิชาชีพอื่น ๆ โดยพบสาขาผดุงครรภ์
            ความอนุเคราะห์ให้แพทย์แผนไทยผู้ปฏิบัติงานใน  ไทย เภสัชกรรมไทยและหัตถเวชกรรมไทยด้วย และ
            แต่ละโรงพยาบาล โรงพยาบาลละ 1 คนตอบกลับ      ส่วนใหญ่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานด้านการแพทย์

            โดยการส่งแบบสอบถามไปโรงพยาบาลชุมชนในทั้ง    แผนไทยในโรงพยาบาลเป็นระยะเวลา 6-10 ปี ผู้
            4 จังหวัด จำานวน 80 ฉบับจากนั้นนำาข้อมูลที่ได้รับจาก  ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จัดว่าเป็นผู้ปฏิบัติงาน

            การตอบแบบสอบถามมาวิเคราะห์ สรุปและอภิปราย   แพทย์แผนไทยที่มีประสบการณ์ในการดูแลมารดา
            ผล                                          หลังคลอด
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46