Page 48 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 48
480 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
โรคเบาหวานมีการแบ่งเป็น 4 ชนิด ตามสาเหตุ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เช่น ลดเวลาอยู่นิ่งกับที่นาน
ของการเกิดโรค โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นชนิดที่ เกิน (sedentary time) นอนพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่
้
พบบ่อยที่สุดในคนไทย พบประมาณร้อยละ 95 ของ สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา ก็เป็นการควบคุมระดับนำาตาลใน
ผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด โดยสาเหตุหลักมาจากร่างกาย เลือดได้ [5-7]
้
มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน (insulin resistance) ร่วมกับ การรักษาผู้ป่วยด้วยยาควบคุมระดับนำาตาลใน
ความบกพร่องในการผลิตอินซูลินที่เพียงพอ (rela- เลือดมี 3 กลุ่ม คือ ยากิน ยาฉีดอินซูลิน และยาฉีด
tive insulin deficiency) มักพบในคนอายุ 30 ปีขึ้น GLP-1 Analog ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ให้เริ่มยา
ไป รูปร่างท้วมหรืออ้วน (ดัชนีมวลกายในคนเอเชีย ฉีดอินซูลินเป็นหลัก ส่วนผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เริ่ม
23 กก./ม. ) โดยอาการแสดงมีตั้งแต่ไม่มีอาการอะไร ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิตก่อน เช่น ควบคุม
2
เลย จนถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน อาหารร่วมกับการออกกำาลังกาย หากพยายามปรับ
โดยส่วนใหญ่อาการมักไม่รุนแรงและค่อยเป็นค่อย แล้วไม่ดีขึ้นจึงค่อยเริ่มยา โดยต้องเริ่มยาที่เหมาะกับ
ไป มักมีประวัติโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในพ่อ แม่ ผู้ป่วยแต่ละราย พร้อมกับการให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
้
หรือ พี่ น้อง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากความผิดปกติของ เบาหวานและควรเน้นยำาเรื่องการปรับพฤติกรรม
พันธุกรรม โดยที่ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ที่เหมาะสมกับผู้ป่วยทุกรายในทุกขั้นตอนของการ
้
ชนิดนี้พบมากเมื่อมีอายุสูงขึ้น มีนำาหนักตัวเพิ่มขึ้น รักษา [8]
และพบมากขึ้นในหญิงที่มีประวัติการเป็นเบาหวาน การเริ่มต้นให้การรักษาด้วยยาขึ้นอยู่กับ ระดับ
้
ขณะตั้งครรภ์ [4] นำาตาลในเลือด และ HbA1c (ถ้ามีผลการตรวจ) ถ้า
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต (lifestyle สูงมากกว่า 180 มก./มล. หรือ A1C > 9% หรือถ้า
้
modification) เป็นการปรับวิถีการดำารงชีวิตประจำา ผู้ป่วยเบาหวานมีค่าระดับนำาตาลในเลือดต่ำากว่าค่าดัง
้
วันเพื่อช่วยควบคุมระดับนำาตาลในเลือดและปัจจัย กล่าว แต่มีอาการหรือความรุนแรงของโรค (อาการ
เสี่ยง ประกอบด้วย การรับประทานอาหารตามหลัก แสดงของโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อน) หรือ สภาพ
โภชนาการ คือการเลือกรับประทานอาหารหลาก ร่างกายของผู้ป่วยค่อนข้างมีปัญหาร่วมด้วย เช่น เป็น
หลายที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สัดส่วนของสาร โรคอ้วน หรือโรคอื่น ๆ ที่อาจมีผลต่อการทำางานของ
อาหารได้สมดุลในปริมาณที่พอเหมาะ โดยที่ปรับ ตับและไต ก็อาจพิจารณาเริ่มยาเพื่อรักษาได้เลยโดย
ให้เหมาะกับความต้องการและแบบแผนการบริโภค ระยะเวลาที่พิจารณาผลการรักษา เมื่อเริ่มการรักษา
ของแต่ละบุคคล ซึ่งต้องคำานึงถึงประโยชน์และผล ควรติดตามและปรับขนาดยาทุก 1-4 สัปดาห์จน
้
เสียของอาหารที่เลือกบริโภคการมีกิจกรรมทางกาย ได้ระดับนำาตาลในเลือดตามเป้าหมาย ในระยะยาว
และออกกำาลังกายที่เหมาะสม ควรออกกำาลังกาย เป้าหมายการรักษาใช้ระดับ HbA1c เป็นหลัก โดย
่
สมำาเสมอเพื่อสุขภาพที่ดี และยังได้ประโยชน์ในการ ติดตามทุก 2-6 เดือนหรือโดยเฉลี่ยทุก 3 เดือน
้
ควบคุมระดับนำาตาลในเลือด ระดับไขมันในเลือด สำาหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 การเริ่มยากิน
้
ความดันโลหิต รวมทั้งนำาหนักตัว และยังช่วยผ่อน ชนิดเดียว ให้เริ่มด้วย metformin เป็นยาตัวแรก
คลายลดความเครียด ความกังวลได้ นอกจากนี้การ ส่วนยาอื่นเป็นทางเลือก เมื่อยาชนิดเดียวควบคุม