Page 50 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 50

482 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




             หญ้าหนวดแมว  ยับยั้งการดูดซึมกลูโคสที่ผนัง  จากการใช้ยา 30 ราย พบว่าอาการส่วนใหญ่ คือ วิง
                          [16]
             ลำาไส้เล็ก ครอบฟันสี ยับยั้งการสร้างกลูโคสและ  เวียนศีรษะ (dizziness) จำานวน 7 ราย (12.5%) รอง
             กระตุ้นการสร้างไกลโคเจนที่ตับ สมอไทย ข้าวเย็น  ลงมาคือ หายใจลำาบาก (dyspnea) จำานวน 5 ราย
                                            [17]
             เหนือ  กระตุ้นการนำากลูโคสเข้าสู่เซลล์ไขมัน ครอบ  (8.9%) เป็นลมหมดสติ (syncope) จำานวน 5 ราย
                 [18]
             ฟันสี อินทนิลนำา ้ [19-20]  เป็นต้น         (8.9%) ปากแห้ง (dry mouth) จำานวน 4 ราย (7.1%)

                 จากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์   ปวดศีรษะ (headache) จำานวน 4 ราย (7.1%) ตาม
             มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ทำาวิจัยแบบการศึกษา  ลำาดับ อย่างไรก็ตามอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นอยู่
             ข้อมูลย้อนหลัง โดยทำาการศึกษาประสิทธิผลและ  ในประเภทไม่ร้ายแรง (not-serious) [22]

             ความปลอดภัยของตำารับยามธุรเมหะในการรักษา        โรงพยาบาลวัฒนานครเป็นโรงพยาบาลชุมชน
                                                 ้
             ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลวังนำาเย็น   ขนาด 60 เตียง มีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนใน
             และโรงพยาบาลวัฒนานครเมื่อปี 2554-2556 โดย   ปี 2558-2560 ที่มารับบริการทั้งสิ้น 2,234, 2,495 และ
             แบ่งผู้ป่วยตามยาที่ได้รับเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) ตำารับ  2,660 ตามลำาดับ จากการสังเกตพบว่ามีจำานวนผู้ป่วย
             ยามธุรเมหะเดี่ยว 2) ตำารับยามธุรเมหะร่วมกับยา   โรคเบาหวานที่มารับบริการสูงขึ้นต่อเนื่อง เมื่อติดตาม
                                                                            ้
             metformin 3) ตำารับยามธุรเมหะร่วมกับยากลุ่ม   วัดผลการควบคุมระดับนำาตาลได้ดีโดย HbA1c <
             sulfonylureas และ 4) ตำารับยามธุรเมหะร่วมกับยา   7 พบ ร้อยละ 45.66, 47.35 และ 46.31 ตามลำาดับ
             metformin และยากลุ่ม sulfonylureas พบว่าก่อน  ผู้ป่วยส่วนใหญ่มากกว่าครึ่งยังไม่สามารถควบคุมได้ดี

             และหลังได้รับยาเป็นเวลา 1 ปีของแต่ละกลุ่มมีระดับ   เพียงพอ ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา เช่น มี
             HbA1c ก่อนและหลังได้รับยาไม่แตกต่างกัน ส่วน  แผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวานพบร้อยละ 1.7, 0.32 และ
                   ้
             ระดับนำาตาลในเลือด (fasting plasma glucose)   0.44 ตามลำาดับ ภาวะแทรกซ้อนทางไต เนื่องจากการ
             ก่อนและหลังรับประทานยามธุรเมหะมีค่าลดลงอย่าง  ทำางานของไตลดลงระดับที่ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 22.33,
             มีนัยสำาคัญทางสถิติ ในกลุ่มที่ 2) และกลุ่มที่ 4) ลดลง  26.85 และ 27.02 ตามลำาดับ และยังมีแนวโน้มจะสูง

             ได้ร้อยละ 26.78 และ 13.81 ตามลำาดับ [21]    ขึ้นอีกในอนาคต [23]
                 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทาง             โรงพยาบาลวัฒนานครมีการใช้ยาสมุนไพร
             เลือก จัดทำาโครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยในการ  ตำารับมธุรเมหะ ร่วมกับยาแผนปัจจุบันในผู้ป่วย
                                                                                    ้
             ใช้ยาจากสมุนไพร เพื่อเสนอเข้าบัญชียาหลักแห่งชาติ   เบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับนำาตาลได้ไม่ค่อย
             ได้ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลการใช้ยาตำารับจาก  ดีซึ่งมีผู้ป่วยเบาหวานได้รับยามธุรเมหะในแต่ละปี

             สมุนไพร ติดตามเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ เพื่อเป็น  จำานวน 200-250 ราย (โรงพยาบาลวัฒนานคร, 2562)
             ข้อมูลความปลอดภัยของยา จำานวน 5 รายการ ซึ่ง  จึงเกิดคำาถามถึงประสิทธิผลของยาสมุนไพรตำารับ
             มียามธุรเมหะร่วมด้วย ยามธุรเมหะใช้ในผู้ป่วยเบา  มธุระเมหะ ถ้าใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 รายใหม่
                                                                                      ้
             หวานชนิดที่ 2 รับประทานครั้งละ 350-700 มิลลิกรัม   เพียงชนิดเดียว จะสามารถลดระดับนำาตาลในเลือด
             โดยแบ่งรับประทานวันละ 1-2 ครั้ง จำานวนผู้ป่วยที่รับ  ได้หรือไม่ เมื่อเปรียบเทียบกับยามาตรฐาน metfor-
             ประทานทั้งหมด 1,034 ราย พบอาการไม่พึงประสงค์  min ในรูปแบบการศึกษาไปข้างหน้า (prospective
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55