Page 55 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 55

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec 2020  487




                            ผลก�รศึกษ�                    ผลก�รศึกษ�ประสิทธิผลก�รรักษ�ของย�
                                                          สมุนไพรมธุรเมหะ
                   การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง clini-

              cal trial โดยรูปแบบการศึกษาวิจัยไปข้างหน้า      เมื่อพิจารณาผลของยาสมุนไพรตำารับมธุรเมหะ
              (prospective study) เลือกแบบวิธีเฉพาะเจาะจง   ที่มีต่อการลด FBS และ HbA1c โดยจำาแนกตามกลุ่ม
              (purposive sampling) ซึ่งจะศึกษาเปรียบเทียบผล  อายุ ดังนี้ 1) ไม่เกิน 40 ปี 2) 41-50 ปี 3) 51-60 ปีและ

              ของยาสมุนไพรตำารับมธุรเมหะ กับยาแผนปัจจุบัน   4) ตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปพบว่า ร้อยละการลดลงของ FBS
                                           ้
              metformin ที่มีผลต่อการลดระดับนำาตาลในเลือด,   ที่มากที่สุดพบในกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีอายุไม่เกิน 40
              ผลข้างเคียงในด้านการทำางานของตับและไต, ระดับ  ปี ที่ลดลงร้อยละ 4.28 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 51-60 ปี

              ไขมันในเลือด และเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วย   และอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ที่ลดลงร้อยละ 2.58 และ
              เบาหวานชนิดที่ 2 รายใหม่ ที่เข้ามารับการรักษาที่   1.87 ตามลำาดับ ส่วน HbA1c พบการลดลงมากที่สุด
              โรงพยาบาลวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว เป็นระยะ   ในผู้เข้าร่วมวิจัยซึ่งมีอายุอยู่ในช่วง 51-60 ปี โดยมีการ

              เวลา 6 เดือนเริ่มแรกมีผู้เข้าร่วมวิจัยสนใจเข้าร่วม  ลดลงร้อยละ 4.82 รองลงมาคือ ช่วงอายุไม่เกิน 40 ปี
              วิจัยทั้งสิ้น 168 คน แต่มี 10 คนกลุ่มรับประทานยา   ที่ร้อยละ 4.00 เป็นต้น ดังแสดงในตารางที่ 3

              metformin ไม่มารักษาตามนัด และอีก 5 คนกลุ่ม     เมื่อพิจารณาผลของยาสมุนไพรตำารับมธุรเมหะ
              รับประทานยามธุรเมหะ FBS > 220 จึงต้องยุติการ  ที่มีต่อการลด FBS และ HbA1c โดยจำาแนกตามค่า
              ศึกษา เมื่อสิ้นสุดการวิจัยพบเหลือผู้เข้าร่วมวิจัย 153   BMI ดังนี้ 1) ไม่เกิน 25 2) 25-29.99 3) ตั้งแต่ 30 ขึ้น

              คน เป็นกลุ่มคนที่รับยามธุรเมหะ 80 คน และกลุ่มรับ  ไปพบว่า ร้อยละการลดลงของ FBS ที่มากที่สุดพบใน
              ยา metformin 73 คน                          กลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีค่า BMI ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป โดยลด

                   โดยข้อมูลพื้นฐานของผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยา  ลงร้อยละ 5.68 ส่วน HbA1c พบการลดลงมากที่สุด
              สมุนไพรตำารับมธุรเมหะและยา metformin แสดง   ในผู้เข้าร่วมวิจัยซึ่งมีค่า BMI 25-29.99 โดยมีการลด
              ในตารางที่ 2                                ลงร้อยละ 6.28 รองลงมาคือ ช่วง BMI ตั้งแต่ 30 ขึ้น





              ตารางที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาสมุนไพรตำารับมธุรเมหะและยา metformin

                                                         มธุรเมหะ                     metformin

               เพศ           ชาย                            24                           24
               เพศ           หญิง                           56                           49
               อายุเฉลี่ย(ปี)                           55.99 ± 8.65                50.11 ± 10.21
                ้
               นำาหนักเฉลี่ย (กิโลกรัม)                69.65 ± 13.10                66.50 ± 12.60
               BMI เฉลี่ย                               27.79 ± 4.87                 26.20 ± 4.04
               FBS (มก./ดล.)                          151.50 ± 21.99               166.03 ± 38.05
               HbA1c (%)                                7.35 ± 1.29                  7.36 ± 1.90
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60