Page 28 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 28
378 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
sesquiphellandrene, b-bisabolene, camphene, อนามัยโลก ข้อกำาหนดปริมาณนำ้ามันหอมระเหย โดย
phellandrene, zingiberol, eucalyptol, citral, bor- ไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.8, 1.5 และ 2.0 โดยปริมาตรต่อ
neol, linalool เป็นต้น ส่วนสารที่ให้รสเผ็ดร้อน เป็นสาร นำ้าหนัก ตามลำาดับ เภสัชตำารับของอินเดีย ญี่ปุ่น และ
ในกลุ่ม phenylalkanones ซึ่งชนิดหลัก ได้แก่ gin- อังกฤษ ไม่มีข้อกำาหนดมาตรฐานของปริมาณสาร
gerols และ shogaols สารกลุ่ม diarylheptanoids สำาคัญทั้ง 2 กลุ่ม มีเพียงการควบคุมปริมาณเถ้า
[4]
ได้แก่ gingerenones A-C, isogingerenone B และ ปริมาณสารสกัดด้วยตัวทำาละลาย ส่วนตำารา
gingerdione [4] มาตรฐานยาสมุนไพรไทย ฉบับปี พ.ศ. 2561 (Thai
การควบคุมคุณภาพของขิงมีเกณฑ์มาตรฐาน Herbal Pharmacopoeia 2018) มีข้อกำาหนดปริมาณ
ของปริมาณสารสำาคัญในหลายเภสัชตำารับ มีเพียง สารสำาคัญเฉพาะนำ้ามันหอมระเหยเท่านั้น และการ
เภสัชตำารับ United State Pharmacopoeia Dietary ตรวจเชิงคุณภาพหรือการตรวจเอกลักษณ์ทางเคมีก็
Supplements Compendium (USP DSC) เท่านั้น จะตรวจหาองค์ประกอบทางเคมีในนำ้ามันหอมระเหย
ที่มีข้อกำาหนดคุณภาพของสารที่ให้รสเผ็ดร้อน โดย โดยไม่มีข้อกำาหนดคุณภาพของสารสำาคัญกลุ่ม gin-
[6]
กำาหนดปริมาณ gingerols และ gingerdiones ซึ่ง gerols หรือ shogaols แต่อย่างใด การศึกษานี้จึงมี
รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.8 โดยนำ้าหนัก กำาหนด วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีวิเคราะห์เชิงคุณภาพโดย
ปริมาณ shogaols ไม่เกินร้อยละ 0.2 โดยนำ้าหนัก ตรวจหาสารกลุ่ม gingerols และ shogaols และ
USP DSC ยังกำาหนดปริมาณนำ้ามันหอมระเหย ไม่ พัฒนาวิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณโดยการหาปริมาณสาร
[5]
น้อยกว่าร้อยละ 1.8 โดยปริมาตรต่อนำ้าหนัก เภสัช 6-gingerol ซึ่งผลที่ได้จากการศึกษานี้จะสามารถนำา
ตำารับของจีน ออสเตรีย และข้อกำาหนดขององค์การ ไปใช้ควบคุมคุณภาพของขิงต่อไป
ภาพที่ 1 โครงสร้างทางเคมีของสารสำาคัญบางชนิดที่พบในขิง