Page 30 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 30
380 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
นำ้าเพิ่มขึ้น ปริมาณสาร 6-gingerol จะถูกสกัดออกมา nyl) ความยาวของคอลัมน์ (50 และ 100 มิลลิเมตร)
[8]
ได้น้อยลง จึงทำาการศึกษาเปรียบเทียบความสามารถ โดยพิจารณาผลการแยกสาร 6-gingerol ลักษณะ
ของตัวทำาละลายในการสกัดสาร 6-gingerol จากขิง ของพีคสาร 6-gingerol (รูปร่างและความสมมาตร
โดยตัวทำาละลายที่เลือกใช้ จำานวน 2 ชนิด ได้แก่ ของพีค) และ retention time ของสาร 6-gingerol
methanol และ ethanol ในเบื้องต้นจะสกัดด้วยวิธี วัฏภาคเคลื่อนที่ ศึกษาชนิดและอัตราส่วน
การแช่สกัด (maceration) เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ตาม ของตัวทำาละลายที่จะใช้เป็นวัฏภาคเคลื่อนที่ โดย
วิธีของ USP DSC 2015 [5] พิจารณาจากรูปร่างของพีคสาร 6-gingerol และ
2.1.2 การศึกษาวิธีการสกัดและระยะเวลา retention time ของสารดังกล่าว และความสามารถ
สกัดที่เหมาะสม ในการแยกพีคของสาร 6-gingerol ออกจากสาร
ภายหลังจากการคัดเลือกตัวทำาละลายที่ อื่น ๆ ในสารละลายตัวอย่างขิง
เหมาะสมในการสกัดสาร 6-gingerol ในขิง จาก ข้อ นอกจากนี้ยังได้ศึกษาถึงอุณหภูมิ ปริมาตร
2.1.1 แล้ว จึงมาศึกษาเพื่อหาวิธีสกัดใหม่โดยมุ่งหวัง ของสารที่ฉีดที่เหมาะสมวิธีวิเคราะห์ปริมาณสาร
ลดระยะเวลาการสกัดให้สั้นลงกว่าเดิม เนื่องจากวิธี 6-gingerol ในขิงด้วยวิธี UPLC
การสกัดสาร 6-gingerol ในขิงตาม USP DSC ต้อง โดยสรุปวิธีจากการศึกษาในข้อ 2.1.1-2.1.4
ใช้ระยะเวลา 24 ชั่วโมง 2.2 การทดสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์
ทำาการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสกัดสาร ทำาการทดสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สาร
6-gingerol ด้วยตัวทำาละลายที่เหมาะสมจากข้อ 2.1.1 6-gingerol ในขิง ที่ได้พัฒนาขึ้นตามแนวปฏิบัติการ
วิธีต่าง ๆ ได้แก่ วิธีการแช่สกัดเป็นเวลา 1, 2, 3, 4, 6 ทดสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ทางเคมีโดย
และ 24 ชั่วโมง และวิธีรีฟลักซ์ เป็นเวลา 30 และ 60 ห้องปฏิบัติการเดียว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
นาที กระทรวงสาธารณสุข [9]
2.1.3 ความยาวคลื่นในการตรวจวัด 2.3 การวิเคราะห์ปริมาณสาร 6-gingerol ใน
วัดการดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลตของสาร ขิง
6-gingerol เพื่อดูความยาวคลื่นที่สารชนิดนี้สามารถ ศึกษาคุณภาพของขิงโดยวิเคราะห์ปริมาณสาร
ดูดกลืนแสงสูงสุด และวิเคราะห์สารละลายตัวอย่าง 6-gingerol ในขิง จำานวน 8 ตัวอย่าง ที่รวบรวมจาก
ขิงโดยใช้ PDA เพื่อเลือกความยาวคลื่นที่เหมาะสม แหล่งต่าง ๆ ทั้งแหล่งธรรมชาติและร้านขายสมุนไพร
ที่สุดที่มีความจำาเพาะ (specificity) สำาหรับการตรวจ โดยใช้วิธีวิเคราะห์ที่ได้พัฒนาขึ้น
วัดสาร 6-gingerol โดยไม่มีสารรบกวนอื่น (interfer-
ence) ผลก�รศึกษ�
2.1.4 วัฏภาคคงที่และวัฏภาคเคลื่อนที่ [7]
วัฏภาคคงที่ ศึกษาเปรียบเทียบคอลัมน์ชนิด 1. วิธีวิเคราะห์เชิงคุณภาพของขิง
ต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างกัน เช่น ชนิดของอนุภาค การเตรียมสารละลายตัวอย่าง
้
ภายในคอลัมน์ (BEH C18, BEH C8 และ BEH phe- นำาตัวอย่างขิง นำาหนัก 300 มิลลิกรัม มาสกัด