Page 32 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 32

382 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           ตารางที่ 1 ระบบโครมาโทกราฟที่ใช้สำาหรับการวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณของขิง

            วัฏภาคคงที่     คอลัมน์ Acquity  UPLC BEH C18, 2.1×50 มิลลิเมตร, 1.7 ไมโครเมตร
                                        TM
            วัฏภาคเคลื่อนที่   A. อะซิโทไนไตรล์
                            B. นำ้ากำาจัดอิออน

            การชะ           แบบเกรเดียน (gradient)

                                      เวลา       อัตราการไหล       ร้อยละ     ร้อยละ     curve
                                     (นาที)    (มิลลิลิตรต่อนาที)   ของ A     ของ B
                              1       0.00          0.60            40.0       60.0
                              2       1.60          0.60            40.0       60.0       6
                              3       2.00          0.60            65.0       35.0       3
                              4       5.00          0.60            65.0       35.0       6

                              5       7.00          0.60            65.0       35.0       6
                              6       7.40          0.60            40.0       60.0       8
            ปริมาตรการฉีดสาร  3 ไมโครลิตร
            อุณหภูมิช่องตัวอย่าง  35°C

            อุณหภูมิคอลัมน์   40°C
            การตรวจวัดสาร   UV 226 นาโนเมตร



           6-shogaol (ภาพที่ 4)                              2.1.2 การศึกษาวิธีการสกัดและระยะเวลา

                                                       สกัดที่เหมาะสม
           2. วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณของขิง [7]              จากการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสกัดสาร

                2.1 การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ปริมาณสาร 6-gin-  6-gingerol ด้วย methanol โดยแช่สกัดเป็นเวลา

           gerol ในขิง ด้วยวิธี UPLC                   1, 2, 3, 4, 6 และ 24 ชั่วโมง และรีฟลักซ์เป็นเวลา 30
                  2.1.1 การเลือกชนิดของตัวทำาละลายในการ  และ 60 นาที พบว่า การรีฟลักซ์เป็นเวลา 30 และ 60

           สกัด                                        นาที สกัดสาร 6-gingerol ได้น้อยกว่าการแช่สกัด 60
                  ผลการศึกษาเปรียบเทียบความสามารถของ   นาที และปริมาณสาร 6-gingerol ที่สกัดได้จากการแช่
           ตัวทำาละลายในการสกัดสาร 6-gingerol จากขิง โดย  สกัดเรียงตามลำาดับ คือ ระยะเวลาแช่สกัด 1-4 ชั่วโมง

           ตัวทำาละลายที่เลือกใช้ จำานวน 2 ชนิด ได้แก่ metha-  < 6 ชั่วโมง < 24 ชั่วโมง เมื่อพิจารณาความคงตัวของ
           nol และ ethanol สกัดด้วยวิธีแช่สกัด เป็นเวลา 24   สารละลายตัวอย่างที่สกัดได้ พบว่า เมื่อสกัดด้วยวิธี

           ชั่วโมง พบว่า methanol สามารถสกัดสาร 6-gingerol   รีฟลักซ์ซึ่งเป็นการใช้ความร้อน สารละลายตัวอย่างจะ
           ได้มากที่สุด และสารละลายตัวอย่างที่ได้มีความคงตัว  มีลักษณะขุ่นเมื่อตั้งทิ้งไว้ข้ามคืน
           เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 วัน                       นอกจากนี้ในขั้นตอนการเตรียมสารละลาย
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37