Page 35 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 35
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 385
ชนิดและอัตราส่วนของตัวทำาละลายที่ใช้เป็นวัฏภาค การไหล 0.6 มิลลิลิตรต่อนาที พบว่าสาร 6-gingerol
เคลื่อนที่โดยพิจารณาจากรูปร่างพีคและ reten- มีค่า retention time ประมาณ 1.7 นาที
tion time ของสาร 6-gingerol ความสามารถในการ 2.1.5 วิธีวิเคราะห์ปริมาณสาร 6-gingerol
แยกสารรบกวนอื่นออกจากสาร 6-gingerol ในขิง ในขิง ด้วยวิธี UPLC
และความดันของระบบโครมาโทกราฟ ดังนั้น ในการ จากผลการศึกษาในข้อ 2.1.1-2.1.4 นำามา
พัฒนาวิธีวิเคราะห์นี้ จึงเลือกใช้ส่วนผสมของอะซิโท- สรุปเป็นวิธีวิเคราะห์ปริมาณสาร 6-gingerol ในขิง
้
ไนไตรล์ในนำา ร้อยละ 40-65 ชะแบบเกรเดียน ที่อัตรา ได้ดังนี้
การเตรียมสารละลายตัวอย่าง
นำาตัวอย่างขิง นำ้าหนัก 300 มิลลิกรัม (ชั่งอย่าง
ละเอียด) มาสกัดโดยวิธีแช่สกัดใน methanol
ปริมาตร 20.0 มิลลิลิตร เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ดูด
สารละลายส่วนใสมากรองผ่าน nylon syringe filter
จะได้สารละลายตัวอย่างเพื่อนำาไปวิเคราะห์ต่อไป
การเตรียมสารละลายมาตรฐาน
6-gingerol นำ้าหนัก 45 มิลลิกรัม (ชั่งอย่าง
ละเอียด) นำามาละลายใน methanol และปรับปริมาตร
จนครบ 100.0 มิลลิลิตร ได้ stock standard solu-
tion จากนั้นนำามาเจือจางโดยปิเปต stock standard
solution ปริมาตร 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 มิลลิลิตร ใส่
ลงในขวดแก้วปรับปริมาตร แล้วปรับปริมาตรด้วย
ภาพที่ 6 เปรียบเทียบผลการศึกษาวิธีการสกัดและระยะ
เวลาสกัด methanol จนครบ 10.0 มิลลิลิตร
ระบบโครมาโทกราฟ
ดังตารางที่ 1
2.2 การทดสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์
2.2.1 ช่วง (range) และความเป็นเส้นตรง
(linearity)
เมื่อฉีดสารละลายมาตรฐาน 6-gingerol ที่ระดับ
้
ความเข้มข้นต่าง ๆ ความเข้มข้นละ 3 ซำา และทำาการ
้
วิเคราะห์ซำา 3 ครั้ง ตามวิธีที่พัฒนาขึ้น พบว่า กราฟ
มาตรฐาน (calibration curve) มีความเป็นเส้นตรง
ในช่วง 0.0474-0.2758 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ด้วยค่า
ภาพที่ 7 เปรียบเทียบผลของตัวกรองชนิดต่าง ๆ coefficient of determination (R ) เท่ากับ 0.9998
2