Page 37 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 37
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 387
ตารางที่ 2 ผลการทดสอบความแม่นและความเที่ยงของวิธีวิเคราะห์ปริมาณสาร 6-gingerol ในขิงที่พัฒนาขึ้น
spiked sample %recovery %RSD เกณฑ์การยอมรับ *
low level (70% target) 100.68 0.43
medium level (100% target) 101.19 0.51 95-105%
high level (150% target) 100.88 0.45
ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ปริมาณสาร 6-gingerol ในขิง
ปริมาณสาร 6-gingerol ในขิง
ตัวอย่างที่ (ร้อยละโดยน�้าหนัก) %RPD
1 2 ค่าเฉลี่ย
1 0.71 0.72 0.71 1.58
2 0.71 0.72 0.71 1.08
3 0.69 0.69 0.69 0.27
4 0.50 0.50 0.50 0.25
5 0.86 0.88 0.86 1.60
6 0.57 0.58 0.58 0.30
7 0.79 0.81 0.80 2.72
8 1.49 1.48 1.49 0.51
ค่าเฉลี่ย 0.79
sd 0.29
* อ้างอิงตาม The AOAC manual for the peer verified methods program (1993)
อภิปร�ยผล ตลอดจนการทดสอบความใช้ได้ของวิธี
งานวิจัยนี้ได้พยายามพัฒนาวิธีให้สามารถตรวจ เมื่อทดสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ปริมาณ
วิเคราะห์ได้ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ กล่าว สาร 6-gingerol ในขิงที่พัฒนาขึ้น พบว่า วิธีดังกล่าว
คือ สามารถใช้เป็นวิธีตรวจเอกลักษณ์ทางเคมีของ มีความเหมาะสม แม่นยำา และรวดเร็ว สามารถนำาวิธี
ขิง สามารถแยกให้เห็นถึงสารกลุ่ม gingerols และ นี้ไปใช้ในการควบคุมคุณภาพของขิงต่อไปได้
shogaols รวม 6 ชนิด แต่ในที่นี้จะวิเคราะห์ปริมาณ ในการศึกษาปริมาณสาร 6-gingerol ในขิง
สาร 6-gingerol เท่านั้น หากต้องการหาปริมาณสาร จำานวน 8 ตัวอย่าง พบว่า ปริมาณสารดังกล่าวมีค่า
่
กลุ่ม gingerols และ shogaols ชนิดอื่น ๆ ก็สามารถ ตำาสุดและสูงสุด คิดเป็น ร้อยละ 0.50 และ 1.49
้
ใช้ระบบวิเคราะห์นี้ได้ เพียงแต่ต้องหาสารมาตรฐาน โดยนำาหนัก ตามลำาดับ ซึ่งแตกต่างกันถึงเกือบ
ชนิดอื่นมาเพิ่มเติมในการสร้าง calibration curve 3 เท่า นอกจากนี้ยังพบอีกว่าปริมาณสาร 6-gin-