Page 22 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 22

12 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




             ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า “น่าจะเป็นจากที่เรานวดต่อกัน   กระบวนการทำางานทำาให้คะแนนในข้อคำาถามเหล่านี้
             นาน ๆ ไม่ค่อยได้หยุดพัก บางวันนวดตั้ง 6–7 เคส”  ตำ่ากว่าข้อคำาถามส่วนอื่น ๆ
                 การบาดเจ็บ/โรคจากการทำางาน จากการสรุป

             ข้อมูลการอภิปรายกลุ่มพบว่าผู้ช่วยแพทย์แผนไทย                ข้อสรุป
             มีอาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณต้นคอ หัวไหล่ บ่า และ     จากผลการศึกษา ทำาให้ทราบถึงคุณภาพชีวิต

             ปวดหลังส่วนล่าง ซึ่งเป็นไปในแนวทางเดียวกันกับ  การทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย โรงพยาบาล
             ผลการศึกษาของทัศนี ฉั่วตระกูล  ที่ทำาการศึกษา  การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานอยู่ใน
                                       [16]
             กระบวนการแรงงานและความเครียดของพนักงาน      ระดับปานกลาง และยังพบว่ารายได้และระยะเวลา

             เปลในโรงพยาบาลศูนย์ พบว่าความเครียดของ      ทำางานมีความสัมพันธ์เชิงผกผันกับคุณภาพชีวิตการ
             พนักงานเปลแสดงให้เห็นในมิติทางร่างกายที่เมื่อย  ทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอ

             ล้าและเจ็บปวดจากท่าทางการทำางาน และจากข้อมูล  แนะต่อผู้บริหารโรงพยาบาล และหน่วยงานที่รับผิด
             พบว่าผู้ช่วยแพทย์แผนไทย มากกว่าร้อยละ 11 ไม่มี  ชอบด้านกำาลังคนเกี่ยวกับระบบบริการด้านการแพทย์
             เวลาพักระหว่างรอนวดผู้รับบริการคนต่อไปซึ่งรายได้  แผนไทย เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมคุณภาพชีวิต

             ของผู้ช่วยแพทย์แผนไทยมาจากส่วนแบ่งค่าบริการ  การทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย และจากข้อมูลดัง
             นวดแผนไทย นั่นหมายความว่ายิ่งให้บริการนวด   กล่าวโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
             มากเท่าใด รายได้ก็ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น เมื่อทำางานมาก  ผสมผสานจึงมีนโยบายให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย พัก

             ส่งผลทำาให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยมีเวลาพักผ่อนน้อย  ระหว่างรอนวดผู้รับบริการคนต่อไป 5–10 นาที เพื่อ
             ลง มีความเร่งรีบในการทำางานและการใช้ชีวิตมากขึ้น   ให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยได้พักเปลี่ยนอิริยาบถ ส่ง
             เวลาพักระหว่างรอนวดผู้รับบริการคนต่อไปย่อมน้อย  เสริมให้คุณภาพชีวิตการทำางานดีขึ้น ซึ่งระยะเวลาพัก

             ลงตามรอบการนวด                              5–10 นาที เป็นระยะเวลาพักที่ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยมี
                 จากตารางคุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วย  คะแนนร้อยละเฉลี่ยของคุณภาพชีวิตการทำางานใกล้

             แพทย์แผนไทยรายข้อ พบว่าข้อที่ได้คะแนนตำ่าเป็น  เคียงกับระยะเวลาพักของผู้ที่ได้พักมากกว่า 20 นาที
             คำาถามที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมและการสื่อสาร     ข้อเสนอแนะจากการวิจัยนี้ หน่วยงานควร
             ภายในองค์กร ด้วยบริบทงานของผู้ช่วยแพทย์     กำาหนดเวลาพักระหว่างรอนวดผู้รับบริการคนต่อไป

             แผนไทยส่วนใหญ่มีรายได้จากส่วนแบ่งค่าบริการนวด  อย่างน้อย 5–10 นาที เพื่อให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยได้
             หมายความว่าถ้ามีจำานวนผู้รับบริการมาก ก็จะยิ่งมี  พักเปลี่ยนอิริยาบถ ส่งเสริมให้คุณภาพชีวิตการทำางาน

             รายได้มาก ทำาให้ในแต่ละวันผู้ช่วยแพทย์แผนไทย  ดีขึ้น และควรเปิดโอกาสให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยมี
             ทำางานต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานติดต่อกัน     ส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และกระบวนการ
             ไม่มีเวลาที่จะทำากิจกรรมอื่น ๆ รวมไปถึงไม่ได้การ  ตัดสินใจ ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขามากขึ้น ซึ่ง

             แสดงความคิดเห็น บางครั้งเหนื่อยล้าจนกระทั่งไม่  จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำางานด้านการควบคุม
             ต้องการการรับข่าวสาร จึงส่งผลให้ไม่มีปฏิสัมพันธ์กับ  ในที่ทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย อย่างไรก็ตาม
             องค์กร และบุคคลภายนอกที่ไม่เกี่ยวข้องกับ    การทำาวิจัยครั้งต่อไปควรทำาการศึกษาเปรียบเทียบ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27