Page 21 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 21

J Thai Trad  Alt Med                                   Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  11




              รอนวดผู้รับบริการคนต่อไปอย่างน้อย 5–10 นาที   ไปซื้ออาหารได้ไม่ยากนักจึงจะเห็นได้ว่าความผูกพัน
              เพื่อให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยได้พักเปลี่ยนอิริยาบถ  กับหน่วยงานผู้ช่วยแพทย์แผนไทยอยู่ในสภาพการ
              ผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่ใช้ในการนวด และอาจช่วย  ทำางานที่เอื้อต่อการทำางาน มีความปลอดภัยในการ

              ลดการบาดเจ็บจากการทำางานที่พบบ่อย ได้แก่    ทำางาน อยู่ในอาคารถาวรมีระบบปรับอากาศตลอดการ
              อาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณต้นคอ บ่าและหัวไหล่    ทำางาน ภายนอกอาคารสะอาด เป็นระเบียบ สิ่งเหล่านี้

              ปวดบริเวณหลังส่วนล่าง และโรงพยาบาลควร       ทำาให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยมีความผูกพันและต้องการ
              เปิดโอกาสให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยมีส่วนร่วมใน  ที่จะทำางาน และภูมิใจในการเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ
              กระบวนการตัดสินใจ แสดงความคิดเห็น ในเรื่องที่  สอดคล้องกับการศึกษาของฐิติมา สดากร ที่ว่าสถาน
                                                                                        [15]
              ส่งผลกระทบต่อพวกเขามากขึ้น                  ที่ทำางานนวดแผนไทย มีแสงสว่างเพียงพอต่อการ
                                                          ปฏิบัติงาน สถานที่ทำางานมีการรักษาความสะอาดที่
                            อภิปร�ยผล                     เพียงพอ และสถานที่ทำางานของหมอนวดแผนไทย


                   คุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วยแพทย์    มีอากาศถ่ายเทสะดวก มีอุณหภูมิที่เหมาะสมกับการ
              แผนไทย โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการ        ปฏิบัติงาน ส่งผลให้สิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กับ

              แพทย์ผสมผสาน ผลการวิจัยพบว่าคุณภาพชีวิต     คุณภาพชีวิตของหมอนวดแผนไทย
              การทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย อยู่ในระดับ      ด้านรายได้ มีผู้ช่วยแพทย์แผนไทยบางส่วนที่
              ปานกลาง โดยด้านความผูกพันกับหน่วยงาน มี     มีลักษณะการจ้างงานแบบได้รับค่าตอบแทนเป็นเงิน

              คะแนนเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาเป็นด้านสภาพใน     เดือนประจำา (9,500–10,000 บาท) ซึ่งมีสวัสดิการรักษา
              การทำางาน ความพึงพอใจในงาน ความเครียดในที่  พยาบาล คือ สิทธิกองทุนประกันสังคม แต่เมื่อเปรียบ
              ทำางาน ความสมดุลของชีวิตและการทำางาน ความ   เทียบเพียงค่าตอบแทนที่เป็นจำานวนรายได้แล้วจะพบ

              เป็นอยู่ทั่วไป และด้านการควบคุมในที่ทำางานตาม  ว่า ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยที่มีรายได้จากส่วนแบ่งค่า
              ลำาดับ จากการสำารวจสิ่งแวดล้อมและบริบทในการ  บริการนวด (10,000–26,000 บาท) มีรายได้ต่อเดือน

              ทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลการ    มากกว่าผู้ที่ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนประจำาแต่
              แพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน พบว่ามี       ทว่ารายเหล่านั้นต้องแลกมาด้วยระยะเวลาการทำางาน
              การจัดแบ่งห้องนวดออกเป็นสัดส่วนแยกเป็นห้อง  ที่มากขึ้น และการทำางานต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน

              นวดชายและห้องนวดหญิง ภายในมีเบาะนวดวาง      ในแต่ละวัน ผนวกกับความคาดหวังในการบริการ
              เรียงกันบนพื้นไม้ซึ่งยกระดับจากพื้นห้อง แต่ละ  และจำานวนผู้ที่มารับบริการ ทำาให้ผู้ช่วยแพทย์แผน

              เบาะนวดมีม่านกั้นเป็นสัดส่วน ภายในห้องเปิดไฟ   ไทยเกิดความเมื่อยล้า และนำาไปสู่การเจ็บป่วยจาก
              ให้แสงสีสว่างนวล มีเสียงดนตรีบรรเลงตลอดทั้งวัน   การทำางาน ข้อมูลผลการศึกษาที่พบว่า ผู้ช่วยแพทย์
              บริเวณพักผ่อนของผู้ช่วยแพทย์แผนไทยคือห้อง   แผนไทยมีอาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณต้นคอ บ่า

              รับประทานอาหาร ภายในโรงพยาบาลไม่มีสถานที่   และหัวไหล่ ปวดบริเวณหลังส่วนล่าง สอดคล้องกับ
              จำาหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม แต่อยู่ใกล้ตลาด และ  ข้อมูลเกี่ยวกับโอกาสบาดเจ็บ/โรคจากการทำางาน ซึ่ง
              โรงอาหารของหน่วยงานใกล้เคียง จึงสามารถออก   ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยกลุ่มที่มีอายุงานมากกว่า 3 ปี
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26