Page 19 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 19

J Thai Trad  Alt Med                                   Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  9




              ตารางที่ 2 คุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย

                  คุณภาพชีวิตการทำางาน           Min       Max        Mean       SD.       Level

               1.  ความเป็นอยู่ทั่วไป           42.86     76.19      65.45      6.67      ปานกลาง
               2.  ความสมดุลของชีวิตและการทำางาน   50.00   83.33     67.32       7.06     ปานกลาง
               3.  ความพึงพอใจในงาน             50.00     83.33      69.57      9.24      ปานกลาง
               4.  การควบคุมในที่ทำางาน         41.67     66.67      53.30       7.99       น้อย
               5.  สภาพในการทำางาน              55.56    100.00      71.25      11.40     ปานกลาง
               6.  ความเครียดในที่ทำางาน        33.33    100.00      67.59      10.90     ปานกลาง
               7.  ความผูกพันกับหน่วยงาน        55.56     94.44      72.04      8.92      ปานกลาง
               คุณภาพชีวิตการทำางานรวม          54.93     75.00      66.65      4.60      ปานกลาง
              หมายเหตุ คะแนนเต็ม 100 คะแนน



              ซึ่งผู้ที่มีรายได้ประจำาเป็นเงินเดือนจะหยุด  ทุก ๆ   ว่าโอกาสบาดเจ็บและโรคเกิดจากการทำางานที่
              วันเสาร์–อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์  ส่วนผู้ที่มี  พบบ่อยครั้ง ได้แก่ อาการปวดเกร็งกล้ามเนื้อ บริเวณ

              รายได้เป็นส่วนแบ่งตามจำานวนผู้รับบริการจะมีวัน  ต้นคอ หัวไหล่รวมถึงบ่าทั้ง 2 ข้างและปวดหลังส่วนล่าง
              หยุด 1 วัน/สัปดาห์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ รวมถึงการ
              จัดตู้นำ้าดื่มให้แก่เจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ด้านสวัสดิการ  ก�รบ�ดเจ็บ/โรคจ�กก�รทำ�ง�นในระยะเวล�

              เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลผู้ที่ได้รับการจ้างงานแบบ  6 เดือน
              รายได้ประจำาเป็นเงินเดือน จะมีสวัสดิการประกัน     ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยทั้ง 2 กลุ่ม ให้ข้อมูลไป
              สังคมแต่ผู้ที่ได้รับการจ้างงานแบบส่วนแบ่งตาม  ในแนวทางเดียวกันเกี่ยวกับการบาดเจ็บ/โรคจาก

              จำานวนผู้รับบริการมีสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษา  การทำางานในระยะเวลา 6 เดือน โดยให้ข้อมูลว่า มี
              พยาบาลในระบบบัตรทอง                         อาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณต้นคอ บ่าและหัวไหล่

                   ด้วยผู้ที่ได้รับการจ้างงานแบบส่วนแบ่งตาม  ปวดบริเวณหลังส่วนล่าง สอดคล้องกับข้อมูลเกี่ยว
              จำานวนผู้รับบริการ ไม่ได้เป็นผู้ประกันตน มาตรา   กับโอกาสบาดเจ็บ/โรคจากการทำางาน ซึ่งผู้ช่วยแพทย์
              33 หรือมาตรา 39 ของสำานักงานประกันสังคม มี  แผนไทยกลุ่มที่มีอายุงานมากกว่า 3 ปี ให้ข้อมูลเพิ่ม

              เพียงบางส่วนที่เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40   เติมว่า “น่าจะเป็นจากที่เรานวดต่อกันนาน ๆ ไม่ค่อย
              ซึ่งเป็นผู้สมัครใจที่จะส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกัน  ได้หยุดพัก บางวันนวดตั้ง 6–7 เคส”

              สังคมด้วยตนเอง
                                                          แนวท�งในก�รส่งเสริมคุณภ�พชีวิตก�รทำ�ง�น
              โอก�สบ�ดเจ็บ/โรคจ�กก�รทำ�ง�น                ของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย


                   ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยทั้ง 2 กลุ่ม ให้ข้อมูล     จากการอภิปรายกลุ่ม สรุปข้อมูลแนวทาง
              ไปในแนวทางเดียวกันเกี่ยวกับโอกาสบาดเจ็บและ  ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วย
              โรคจากการทำางานจากการอภิปรายกลุ่มพบข้อมูล   แพทย์แผนไทยได้ว่าควรกำาหนดเวลาพักระหว่าง
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24