Page 15 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 15

J Thai Trad  Alt Med                                   Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  5




              รักษ�อ�ก�รของผู้รับบริก�ร อีกทั้งก�รให้บริก�ร     โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
              นวดรักษ�แผนไทยในสถ�นบริก�รภ�ครัฐ ไม่มีวัน   ผสมผสาน เป็นหน่วยงานสังกัดกรมการแพทย์แผน
              หยุด ทำ�ให้เกิดคว�มกดดันจ�กจำ�นวนผู้ป่วย และ  ไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข มี

              มีเวล�พักในช่วงก�รนวดผู้ป่วยแต่ละร�ยไม่ม�ก  บทบาทที่สำาคัญประการหนึ่ง คือ การให้บริการสุขภาพ
              นัก โดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทยคนหนึ่ง ๆ อ�จให้   ด้านการแพทย์แผนไทยในเขตกรุงเทพมหานครฯ ซึ่ง

              บริก�รนวดรักษ�ผู้รับบริก�รถึง 6–7 ร�ยต่อวัน ผู้  ครอบคลุมทั้ง 4 มิติทางสุขภาพ คือ การส่งเสริมสุข
              ป่วยแต่ละร�ยใช้เวล�นวดประม�ณ 1 ชั่วโมงด้วย  ภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟู
              บริบทของง�นที่กล่�วม�ข้�งต้น ทำ�ให้ประเด็น  สมรรถภาพ โดยใช้ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยใน

              คุณภ�พชีวิตก�รทำ�ง�นของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย   การดูแลสุขภาพประชาชน ซึ่งจำาเป็นต้องใช้บุคลากรผู้
              เป็นสิ่งควรคำ�นึงถึง                        มีความรู้ความสามารถ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ช่วย
                   คุณภาพชีวิตการทำางาน เป็นความรู้สึกของ  แพทย์แผนไทย พลังสำาคัญในการขับเคลื่อนโรง

              บุคคลที่มีต่องาน เป็นความพึงพอใจในการทำางาน การ  พยาบาลและระบบบริการสุขภาพด้านการแพทย์แผน
              มีความสุขในการทำางาน และการมีสุขภาพจิตที่ดี ได้รับ  ไทยเนื่องจากเป็นผู้ทำาหัตถการนวดรักษาให้ผู้ที่มารับ
              ประสบการณ์ในการทำางาน ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพ  บริการดังลักษณะงานที่ต้องใช้แรงแขนทั้งสองข้าง กด

              ของบุคคลและองค์การ ซึ่งการทำางานก็เพื่อให้ดำารง  ไปตามจุดนวด และลงนำ้าหนักนวดไปตามแนวกล้าม
              ชีวิตอยู่ได้และตอบสนองความต้องการพื้นฐาน    เนื้อ ตามอาการของผู้รับบริการ กล่าวคือใช้ร่างกาย

              คุณภาพชีวิตการทำางานจึงเป็นคุณลักษณะของการ  ตนเองเป็นเครื่องมือในการบำาบัดรักษาซึ่งมีผลกระทบ
              ที่บุคคลมีการทำางานที่ทำาให้ชีวิตมีคุณค่า หรือมีการ  ต่อคุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย
              ทำางานที่ทำาให้เกิดความเป็นอยู่ที่ดีตามการยอมรับของ  การศึกษาที่ผ่านมาได้มีการศึกษาคุณภาพชีวิต

              สังคม เป็นการผสมผสานระหว่างงานกับชีวิต Easton   การทำางานของบุคลากรทางสุขภาพ เช่น พยาบาล
              และ Van  ได้จำาแนกคุณภาพชีวิตการทำางาน (qual-  วิชาชีพ [6-7,12]  บุคลากรในโรงพยาบาลของรัฐ  และ
                     [3]
                                                                                            [8]
              ity of work life) ออกเป็น 7 มิติ ได้แก่ (1) ความเป็น  เอกชน [11,13]  การศึกษาคุณภาพชีวิตของบุคลากรด้าน
              อยู่ทั่วไป (2) ความสมดุลของชีวิตและการทำางาน (3)   การแพทย์แผนไทยยังพบไม่มากนักโดยเฉพาะใน
              ความพึงพอใจในงาน (4) การควบคุมในที่ทำางาน (5)   กลุ่มผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ผู้บริหารโรงพยาบาลฯ

              สภาพการทำางาน (6) ความเครียดในการทำางาน และ    ตระหนักถึงความสำาคัญของบุคลากรผนวกกับผู้วิจัย
              (7) ความผูกพันกับหน่วยงาน แต่ละมิติต่างก็มีความ  มีความสนใจในเรื่องดังกล่าว จึงนำามาสู่การศึกษา
              สัมพันธ์เกี่ยวข้องกันและผกผันไปตามบริบทของที่  คุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทยโรง

              ทำางาน รวมถึงความแตกต่างในระดับบุคคลด้วย การ  พยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
              ศึกษาที่ผ่านมาพบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพ  เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วยแพทย์
              ชีวิตการทำางาน เช่น เพศ  อายุ  รายได้  ระยะ  แผนไทย และอธิบายคุณลักษณะส่วนบุคคลและ
                                       [6-9]
                                               [6,9]
                                 [4-5]
              เวลาการทำางาน [5,7-10]  อายุงาน ุ[6,11]  และลักษณะการ  ปัจจัยที่เกี่ยวกับการจ้างงานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย
              จ้างงาน                                     ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ
                    [4,11]
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20