Page 11 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 11

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                      ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562        Vol. 17  No. 1  January-April 2019




                                                                            บรรณาธิการแถลง



            บรรณาธิการแถลง







                 วารสารฉบับนี้เป็นฉบับแรกของ ปีที่ 17 พ.ศ.      เรื่องที่สี่ ปัจจัยทางสังคมที่มีอิทธิพลต่อการเลือก
            2562 มีนิพนธ์ต้นฉบับรวม 10 เรื่อง           รูปแบบการดูแลรักษาความเจ็บป่วยของสมาชิกใน

                 เรื่องแรก คุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วย  ครัวเรือน อำาเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร การศึกษา
            แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย         นี้ใช้วิธีการศึกษาจากแบบสอบถามเป็นหลัก ยังมิได้
            และการแพทย์ผสมผสาน สังกัดกรมการแพทย์แผน     ตรวจสอบข้อมูลจากการใช้บริการจริง จึงเป็นข้อสรุป

            ไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข     จากความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม เท่านั้น การ
            ศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ช่วยแพทย์แผนไทยกลุ่ม   ศึกษาลักษณะนี้ในอนาคตจึงควรมีการวิเคราะห์ข้อมูล

            เล็ก ๆ ในโรงพยาบาลระดับประเทศแห่งเดียว ควร  จากอัตราและลักษณะการใช้บริการการแพทย์แผน
            ทำาการศึกษาภาพรวมระดับประเทศต่อไป           ต่าง ๆ จริงด้วย
                 เรื่องที่สอง คุณค่าทางโภชนาการและคุณสมบัติ     เรื่องที่ห้า ฤทธิ์การยับยั้งการเจริญของเชื้อ

            การเป็นสารพรีไบโอติกของมะนาวไม่รู้โห่ ซึ่งเป็น  แบคทีเรียก่อโรคในมนุษย์ของสารสกัดมะหาด ซึ่ง
            ผลไม้ที่มีชื่อในวรรณกรรมไทยมานาน แต่ไม่เป็นที่  พบว่าตัวทำาละลายที่ใช้ในการสกัดมะหาดมีผลอย่าง
            รู้จักและไม่ได้นำามาใช้ประโยชน์ทั่วไป การศึกษานี้  มากต่อฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียก่อโรค

            พบว่ามะนาวไม่รู้โห่มีศักยภาพที่สามารถเป็นแหล่ง  โดยอาจมีผลการยับยั้งแตกต่างกันไปในแต่ละชนิด
            อาหารทางเลือกเพิ่มเติม และสามารถนำาไปพัฒนาเป็น  ของเชื้อแบคทีเรีย การศึกษานี้จึงเป็นผลเบื้องต้นที่
            ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่ใช้ดูแลสุขภาพได้ทางเลือก  ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป

            หนึ่ง                                            เรื่องที่หก ผลเบื้องต้นของยาแคปซูลประสะ
                 เรื่องที่สาม ภูมิปัญญาการนวดพื้นบ้าน: กรณี  ไพลเพื่อรักษาอาการปวดประจำาเดือนผิดปกติ เป็น

            ศึกษาหมอนวดพื้นบ้าน 5 ราย เป็นการศึกษาแพทย์  ความพยายามที่จะศึกษาประสิทธิผลและความ
            พื้นบ้าน จำานวน 5 คน จากภาคต่าง ๆ ซึ่งผลการศึกษา  ปลอดภัยของยาแผนไทยในบัญชียาหลักแห่งชาติตัว
            สะท้อนว่าหมอพื้นบ้านแต่ละคนศึกษาจากครูของตน  นี้ แต่การออกแบบการศึกษา มิใช่การวิจัยทางคลินิก

            ตามระบบความเชื่อเป็นหลัก และยังสามารถเป็นที่  แบบสุ่มเปรียบเทียบ ขนาดตัวอย่างน้อยมาก เพียง 30
            พึ่งของประชาชนส่วนหนึ่งโดยเฉพาะในโรคเรื้อรังบาง  ราย และสามารถติดตามผลได้เพียง 24 ราย ผลการ

            โรค แต่ความรู้ของหมอพื้นบ้านส่วนมากน่าจะเรียวลง  ศึกษาจึงเป็นเพียงผลเบื้องต้น ระดับความน่าเชื่อถือ
            เรื่อย ๆ เพราะขาดการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และหาผู้  น้อย อย่างไรก็ดี หากจะทำาการศึกษาในกลุ่มตัวอย่าง
            สืบทอดได้ยาก                                ขนาดใหญ่และเป็นการศึกษาแบบสุ่มเปรียบเทียบจะ


                                                     1
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16