Page 16 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 16
6 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562
การแพทย์ผสมผสานเป็นข้อมูลสำาหรับนำาไปพัฒนา บุคคลและปัจจัยที่เกี่ยวกับการจ้างงาน ได้แก่ เพศ
คุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผนไทยต่อ อายุ สถานภาพสมรส รายได้ หน่วยงานที่ผู้ช่วยแพทย์
ไป แผนไทยปฏิบัติงาน ลักษณะการจ้างงาน อายุงาน และ
ระยะเวลาการทำางาน มีข้อคำาถามจำานวน 9 ข้อ เป็นแบบ
ระเบียบวิธีศึกษ� เติมข้อความสั้น ๆ และแบบให้ตอบเลือกตามตัวเลือก
การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำารวจแบบภาค ที่กำาหนด ส่วนที่ 2 คุณภาพชีวิตการทำางาน มีคำาถาม
ตัดขวางผ่านการรับรองจากคณะกรรมการพิจารณา จำานวน 30 ข้อ ประกอบด้วย 7 ด้าน ได้แก่ ความเป็น
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ อยู่ทั่วไป (7 ข้อ) ความสมดุลของชีวิตและการทำางาน
มหาวิทยาลัยมหิดล COA.NO. MUPH 2018-003 (4 ข้อ) ความพึงพอใจในงาน (2 ข้อ) การควบคุมในที่
มีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ช่วยแพทย์แผนไทยที่ปฏิบัติงาน ทำางาน (4 ข้อ) สภาพการทำางาน (3 ข้อ) ความเครียดใน
ในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสม ที่ทำางาน (4 ข้อ) และความผูกพันกับหน่วยงาน (6 ข้อ)
ผสาน กรุงเทพมหานคร และสมัครใจเข้าร่วมการวิจัย ข้อคำาถามจะมีข้อคำาถามเชิงบวกและเชิงลบ ลักษณะ
โดยลงนามในเอกสารยินยอมตน จำานวน 63 คน เป็นมาตราประเมินค่า 4 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง
(4) ถึงไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง (1) ในข้อคำาถามเชิงบวก
วิธีก�รศึกษ� สำาหรับข้อคำาถามเชิงลบให้คะแนนกลับกัน การตีความ
เครื่องมือการวิจัยในการวัดวิธีเชิงปริมาณใช้ กำาหนดให้คะแนนรายด้านมีค่าระหว่าง 0–100 คะแนน
แบบสอบถาม และวิธีเชิงคุณภาพใช้แนวคำาถามในการ สำาหรับคะแนนคุณภาพชีวิตการทำางานนำาคะแนนราย
อภิปรายกลุ่ม มีดังนี้ ด้านมารวมกันหารด้วยจำานวนด้าน โดยคะแนนเฉลี่ย
แบบสอบถาม ได้ดัดแปลงข้อคำาถามจากแบบ รายด้านและคุณภาพชีวิตการทำางานโดยรวม ตีความ
ประเมินคุณภาพชีวิตการทำางานของนายปรเมศร์ เป็น 3 ระดับ คือ มาก (80–100) ปานกลาง (60–79) และ
ศิริสวัสดิ์ ชื่อ WRQoL-2 Scale–Thai ซึ่งแปลมา น้อย (< 60) วิธีการเก็บข้อมูลผู้วิจัยใช้การสัมภาษณ์
[14]
จากแบบประเมินคุณภาพชีวิตการทำางาน (quality ตามแบบสอบถามที่กำาหนด
of work life) ชื่อ “WRQoL-2” ของ Easton และ แนวคำาถามในการอภิปรายกลุ่ม ใช้สำาหรับ
Van การตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (content การอภิปรายกลุ่ม (focus group discussion)
[3]
validity) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน และหาค่าความเชื่อ มีร่างคำาถาม ใน 4 ประเด็น เกี่ยวกับ 1) รูปแบบ
มั่น (reliability) โดยการนำาแบบสอบถามไปทดลอง การจ้างงานและรายได 2) สวัสดิการที่ได้รับ
ใช้ (try out) กับผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ที่มีลักษณะ 3) โอกาสบาดเจ็บ/โรคจากการทำางาน และ 4) การได้
คล้ายกับตัวอย่าง จำานวน 30 คน นำามาหาค่าความ รับบาดเจ็บ/โรคจากการทำางาน และ 5) แนวทางในการ
เชื่อมั่น โดยใช้วิเคราะห์ความสอดคล้องภายในด้วย ส่งเสริมคุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผน
ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าความเชื่อ ไทย จัดการอภิปรายกลุ่ม 2 ครั้ง ครั้งละ 6 คน ครั้งแรก
มั่น Cronbach’s alpha coefficient = 0.721 เป็นผู้ที่ทำางานไม่เกิน 3 ปี และครั้งที่ 2 เป็นผู้ที่ทำางาน
แบบสอบถามมี 3 ส่วน: ส่วนที่ 1 ปัจจัยส่วน มากกว่า 3 ปีขึ้นไป