Page 17 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 17
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 1 Jan-Apr 2019 7
การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ งานผลการศึกษาพบว่า ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยมี
โปรแกรม SPSS Statistics version 18.0 ในการ คุณภาพชีวิตการทำางานรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดย
วิเคราะห์ข้อมูล นำาเสนอข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา มีคะแนนเฉลี่ย 66.65 และเมื่อเปรียบเทียบในแต่ละ
สำาหรับการอภิปรายกลุ่ม ใช้การสรุปเนื้อหาสำาคัญนำา ด้านพบว่า ด้านความผูกพันกับหน่วยงาน มีคะแนน
เสนอเป็นข้อความเชิงพรรณนา เฉลี่ยสูงสุด รองลงมาเป็นด้านสภาพในการทำางานและ
ตำ่าที่สุดด้านการควบคุมในที่ทำางาน ดูตารางที่ 2
ผลก�รศึกษ� จากการอภิปรายกลุ่ม 2 ครั้ง ครั้งละ 6 คน ครั้ง
จากการเก็บข้อมูลกับผู้ช่วยแพทย์แผนไทย แรก เป็นผู้ที่อายุงานไม่เกิน 3 ปี อายุงานมากที่สุด 3
จำานวน 63 คน พบว่า เป็นเพศหญิง จำานวน 37 คน ปี อายุงานน้อยที่สุด 1 ปี เป็นเพศหญิง 4 คน เพศ
คิดเป็นร้อยละ 58.70 มีอายุระหว่าง 41–49 ปี จำานวน ชาย 2 คน อายุเฉลี่ย 40 ปี และครั้งที่ 2 เป็นผู้ที่อายุ
35 คน คิดเป็นร้อยละ 55.55 รองลงมามีอายุระหว่าง งานมากกว่า 3 ปี ขึ้นไป อายุงานมากที่สุด 5 ปี อายุ
29–40 ปี จำานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 30.15 มีอายุ งานน้อยที่สุด 4 ปี เป็นเพศหญิง 3 คน เพศชาย 3 คน
เฉลี่ย 43 ปี สถานภาพสมรสเป็นโสด จำานวน 37 อายุเฉลี่ย 43 ปี มีข้อสรุปสำาคัญดังนี้
คน คิดเป็นร้อยละ 58.70 มีรายได้เฉลี่ยประมาณ
19,000 บาท และร้อยละ 46.03 มีรายได้อยู่ในช่วง รูปแบบก�รจ้�งง�นและร�ยได้
20,001–26,000 บาท ดูตารางที่ 1 ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยทั้งกลุ่มที่มีอายุงานน้อย
ปัจจัยเกี่ยวกับการจ้างงานพบผู้ช่วยแพทย์ กว่า 3 ปี และอายุงานมากกว่า 3 ปีเห็นตรงกันว่า รูป
แผนไทยมากกว่าร้อยละ 80 มีการจ้างงานเป็นแบบ แบบการจ้างงานและรายได้ที่ได้รับมีความเหมาะ
ส่วนแบ่งตามจำานวนผู้รับบริการ มีอายุงาน 1–5 ปี สม ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยส่วนใหญ่มีรายได้เพียง
และมากกว่าร้อยละ 85 ทำางานสัปดาห์ละ 6 วัน พอ และมีส่วนหนึ่งที่มีรายได้เพียงพอและเหลือ
และ มากกว่าร้อยละ 80 มีชั่วโมงทำางานเฉลี่ย 8 ไว้เก็บออมด้วย ผู้ที่มีรายได้ประจำาเป็นเงินเดือน
ชั่วโมง ต่อวัน โดยมีระยะเวลาพักเพื่อรอนวด พึงพอใจกับการมีรายได้ประจำามั่นคงไม่ขึ้นอยู่กับ
คนต่อไป 5–10 นาที และ 11–15 นาที เท่ากันคือ จำานวนผู้รับบริการและมีวันหยุดเสาร์และอาทิตย์
ร้อยละ 36 และประมาณร้อยละ 11 ไม่มีเวลาพัก เพื่อพักผ่อนอยู่กับครอบครัว หรือหารายได้พิเศษใน
เพื่อรอนวดผู้คนต่อไป โดยมีผู้รับบริการ 4–7 คน บางสัปดาห์ที่ต้องการ ส่วนผู้ที่มีรายได้เป็นส่วนแบ่ง
ต่อวัน และมากกว่าร้อยละ 58 มีผู้รับบริการต่อวัน ตามจำานวนผู้รับบริการพึงพอใจกับรายได้แบบส่วน
5 คน ดูตารางที่ 1 แบ่ง ตามที่ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยท่านหนึ่งกล่าวไว้ว่า
คุณภาพชีวิตการทำางานของผู้ช่วยแพทย์แผน “ยิ่งนวดมาก เราก็ได้มาก”
ไทยจำาแนกเป็น 7 ด้าน ได้แก่ ความเป็นอยู่ทั่วไป ความ
สมดุลของชีวิตและการทำางาน ความพึงพอใจในงาน สวัสดิก�รที่ได้รับ
การควบคุมในที่ทำางาน สภาพในการทำางาน ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยทั้ง 2 กลุ่ม พอใจกับวัน
ความเครียดในที่ทำางาน และความผูกพันกับหน่วย หยุดที่หน่วยงานจัดให้ตามรูปแบบการจ้างงาน