Page 20 - ภาพนิ่ง 1
P. 20

14   วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก         ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555





          Staphylococcus aureus ATCC6538 และ  อบไอร้อน บดตัวอย่างให้ละเอียดแล้วผสมกับ
          Staphylococcus epidermidis ATCC12228       เมทานอลหรือเอทานอล ด้วยอัตราส่วน สมุนไพร

          อาหารเลี้ยงเชื้อชนิด Nutrient broth (NB)   ต่อตัวทำละลาย เท่ากับ 1 ต่อ 4 หมักที่อุณหภูมิ
               3.  การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ห้องเป็นเวลา 24 ชั่วโมง กรองด้วยกระดาษกรอง
          ของสารสกัดจากสมุนไพร                       Whatman เบอร์ 4 เก็บส่วนสารละลายไว้ ทำซ้ำ
                                                              ®
                 3.1  อาหารเลี้ยงเชื้อชนิด Nutrient  อีก 2 รอบ แล้วนำสารละลายทั้งหมดทำให้เข้ม
          agar (NA)                                  ข้นด้วยเครื่องระเหยภายใต้สูญญากาศ ได้สารข้น

                 3.2  อาหารเลี้ยงเชื้อชนิด  Muller  หนืด เก็บไว้ที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส
          Hinton broth (MHB)                                 สารสกัดจากข้อ 1.1 และ 1.2 จะ

                 3.3  ไอโอโดไนโตรเตตระโซเลียม  ละลายในสารละลายไดเมทิลซัลฟอกไซด์ร้อยละ
          คลอไรด์ (Iodonitrotetrazolium chloride)    1 และกรองผ่านแผ่นกรองที่ผ่านการฆ่าเชื้อขนาด
                 3.4  Cork borer                     0.2 ไมครอน ก่อนนำไปใช้

                 3.5 คลอแรมเฟนิคอล (Chloram-               2.  การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย
          phenicol)                                  Escherichia coli, Klebsiella pneumoniae,

                                                     Staphylococcus epidermidis และ Staphy-
          วิธีการ                                    lococcus aureus ของสารสกัดสมุนไพร
          1. การสกัดสารจากสมุนไพร                            2.1  การเพาะเลี้ยงแบคทีเรียแต่ละ

               นำสมุนไพรสดทั้ง  7  ชนิด  มาล้างให้ ชนิดในอาหารเลี้ยงเชื้อชนิด Nutrient broth ที่
          สะอาดผึ่งให้แห้งในที่ร่ม แล้วนำไปสกัดดังนี้   ความเร็วรอบการเขย่า 200 รอบต่อนาที เป็น

                 1.1  การสกัดสมุนไพรด้วยน้ำ          เวลา 12 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส
               นำสมุนไพรสดมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ สกัด             2.2  การตรวจสอบฤทธิ์ของสารสกัด
          ด้วยน้ำในอัตราส่วนสมุนไพรต่อน้ำ เท่ากับ 1 ต่อ  ด้วยวิธี Agar well diffusion

                                                                                            17
          4 นำไปต้มที่ 100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10        วิธี Agar well diffusion ดัดแปลงจาก
          นาที กรองด้วยผ้าขาวบางแล้วกรองด้วยกระดาษ Rauha et al., 2000 โดยนำแบคทีเรียที่เลี้ยง

                         ®
          กรอง Whatman เบอร์ 4 เก็บตัวอย่างที่จะ ในข้อ 2.1 จำนวนเซลล์ 10  CFU/ml มาเกลี่ยให้
                                                                           8
          ทดสอบไว้ที่ -20 องศาเซลเซียส               ทั่วบนอาหารเลี้ยงเชื้อชนิด Nutrient agar ด้วย
                 1.2  การสกัดสมุนไพรด้วยเมทานอล sterile cotton swab จากนั้นเจาะหลุมขนาด

          และเอทานอล                                 เส้นผ่านศูนย์กลาง  8  มิลลิเมตร  ด้วย  Cork
                 นำสมุนไพรสดมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ อบ borer แล้วเติมสารสกัดสมุนไพรความเข้มข้น

          ให้แห้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส โดยใช้เครื่อง 300  ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร  ปริมาณ  100
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25