Page 18 - ภาพนิ่ง 1
P. 18

12   วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก         ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555





               2)  Klebsiella pneumoniae พบได้ทั้ง ใช้ได้ และเป็นการเพิ่มมูลค่าสมุนไพรของไทยอีก
          ในสิ่งแวดล้อม ได้แก่ แหล่งน้ำ ดิน พืช และพบได้ ด้วย สมุนไพรพื้นบ้านไทยมีการนำมาใช้ประโยชน์

          ในเยื่อเมือกของสิ่งมีชีวิต ระบบทางเดินอาหารใน ต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ นำมาเป็นอาหาร เครื่อง
          สัตว์หลายชนิด เช่น หนูแรต หนูเมาส์ และมนุษย์   เทศ ใช้เป็นยา เป็นต้น  ซึ่งมีรายงานการพบสาร
                                                 3
          จากทางเดินหายใจหรือลำไส้ เป็นสาเหตุของโรค สำคัญหลายชนิดทั้งน้ำมันระเหยง่าย สารต้าน
          ปอดบวม  ปอดอักเสบ  โรคติดเชื้อในทางเดิน อนุมูลอิสระ สารยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา
                                                                                            9
          ปัสสาวะ ที่บาดแผล ในกระแสเลือด และเยื่อหุ้ม จึงได้คัดเลือกสมุนไพรพื้นบ้านไทย 7 ชนิดมา

          สมอง เป็นเชื้อก่อโรคแกรมลบที่เกี่ยวข้องกับการ ทำการศึกษา ดังนี้
          ติดเชื้อในโรงพยาบาลในระบบทางเดินหายใจส่วน        1)  ผักชีฝรั่ง (Eryngium foetidum L.)

                    4,5
          ล่างมากที่สุด                              อยู่ในวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) มีสารสำคัญ
               3)  Staphylococcus aureus เป็นเชื้อ acetophenon, aldehyde, benzaldehyde
          ก่อโรคที่สำคัญ  เป็นสาเหตุของการติดเชื้อที่ เป็นต้น รากช่วยเจริญอาหาร

          ผิวหนัง แผลและเนื้อเยื่อ และโรคอาหารเป็นพิษ      2)  ชะพลู  (Piper  sarmentosum
          นอกจากนี้ยังเป็นเชื้อฉวยโอกาสในผู้ป่วยที่มี Roxb.) อยู่ในวงศ์ Piperaceae มีสารสำคัญ

          ร่างกายอ่อนแอ ทำให้เกิดโรคปอดบวมที่ทำให้มี neolignan, sarmentosine เป็นต้น รายงาน
          อัตราการเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ 50  6,7      การวิจัยพบว่าการสกัดใบชะพลูด้วยปิโตรเลียม
               4)  Staphylococcus  epidermidis  อีเทอร์มีสาร  hydrocinnamic  acid  และ

                                                                  10
          เป็นสาเหตุก่อให้เกิดโรคสิวอักเสบเป็นหนอง    ß-sitosterol  และสารสกัดลูกชะพลูมีสาร
          พบได้ตามผิวหนังทั่วไปและเยื่อบุบางแห่ง เช่น  pellitorine  ใบทำให้เสมหะงวดและแห้งเข้า
                                                                11
                                            7,8
          จมูก หู ปาก และหลอดปัสสาวะส่วนปลาย         บำรุงธาตุ แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด มีฤทธิ์
               จากการที่มีเชื้อโรคกระจายอยู่ทั่วไปตาม  ต้านเชื้อแบคทีเรีย ลดน้ำตาลในเลือด ต้านการ
          แหล่งต่าง  ๆ  ควรมีการป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่  เกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด

          ร่างกาย  วิธีการป้องกันเชื้อโรคที่ดีทางหนึ่งคือ     3)  สะระแหน่  (Mentha  cordifolia
          การล้างมือให้สะอาดโดยใช้ผลิตภัณฑ์สบู่เหลว  Opiz.)  อยู่ในวงศ์ Lamiaceae มีสารสำคัญ

          หรือน้ำยาล้างมือที่สามารถฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค   cadinene, carvone, coumarin เป็นต้น และ
          ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายทั่วไปมีการเติมสารเคมีที่  ในใบสะระแหน่มี amino acid ได้แก่ leucine,
          ช่วยฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ ซึ่งผู้บริโภคอาจเกิดการแพ้  methionine, proline, asparagine เป็นต้น 12

          สารเคมี หากมีการนำสารสกัดสมุนไพรมาใช้เป็น  ใบขับลม ผายลม แก้ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ มีฤทธิ์ต้าน
          ส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างมือจะช่วยใน  การเจริญของเนื้องอก ลดความดันโลหิต กระตุ้น

          การลดการใช้สารเคมี  ผู้ที่มีผิวแพ้ง่ายสามารถ  การบีบตัวของมดลูก
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23