Page 14 - ภาพนิ่ง 1
P. 14
8 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555
จะเห็นว่า เส้นอิทาและปิงคลาของการ 9. เส้นประธานทั้งสิบมีจุดเริ่มต้นที่รอบ
นวดไทย จะอยู่ในแนวกึ่งกลางลำตัวของร่างกาย สะดือ ซึ่งตรงกับตำแหน่งจักระชื่อ มณิปุระ ซึ่ง
เพียงแต่อยู่ด้านซ้ายและขวา ในขณะที่นาฑี อิฑา ตั้งอยู่หน้ากระดูกสันหลังระดับสะดือ ตรงกับ
และปิงคลาของโยคะจะไขว้กันในแนวกึ่งกลางลำ Solar Plexus (บริเวณ Lumbar Plexus และ
ตัว ต่อมหมวกไต) ศูนย์นี้จะควบคุมระบบการย่อย
6. ตำราการนวดไทยกล่าวว่า เส้นอิทา มี อาหาร ควบคุมพลังขับเคลื่อนในการทำกิจกรรม
ลมจันทะกาลาเป็นลมประจำเส้น ซึ่งตรงกับ ต่างๆ อารมณ์ที่ไม่ดี ความคิดสร้างสรรค์
8
โยคศาสตร์ที่กล่าวว่า นาฑีอิฑาคือ นาฑีที่เป็น ความรู้สึกเด่น ความสามารถพิเศษต่างๆ
ช่องให้พลังเย็นแห่งดวงจันทร์ไหลเวียนไปใน จากข้อค้นพบเบื้องต้น เชื่อว่า องค์ความ
ร่างกาย และ จันทระ เภทนะ ปราณายามะ รู้การนวดไทยมีรากที่มาจากโยคศาสตร์ โดย
เป็นการหายใจเข้าทางรูจมูกซ้ายหรือช่อง อาจเกี่ยวโยงกับฤๅษีดัดตนที่รัชกาลที่หนึ่ง ทรง
พระจันทร์ ซึ่งเป็นช่องทางของนาฑีอิฑา 8 พระราชทานไว้ ณ วัดพระเชตุพนฯ ซึ่งสมเด็จฯ
7. ตำราการนวดไทยกล่าวว่า เส้น กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงอธิบายเรื่องนี้ว่า
ปิงคลา มีลมสูรย์กาลา (สูรยะ กะลา หรือ สูรยะ ทรงเคยเห็นรูปปั้นฤๅษีบำเพ็ญตบะใน
กลา) (soorya kalaa) เป็นลมประจำเส้น ซึ่งตรง พิพิธภัณฑสถานของเมืองชัยปุระ ประเทศอินเดีย
กับโยคศาสตร์ที่กล่าวว่า นาฑีปิงคลา คือ นาฑี ทำท่าทางต่างๆ เหมือนอย่างรูปฤๅษีดัดตนในวัด
ที่พลังร้อนไหลไปในร่างกาย และ สูรยะ เภทนะ พระเชตุพนฯ จึงสันนิษฐานว่า ท่าฤๅษีดัดตน
ปราณายามะ เป็นการหายใจเข้าทางรูจมูกขวา ของไทยได้ต้นแบบมาจากฤๅษีในยุคอินเดีย
หรือ ช่องสุริยะ ซึ่งเป็นช่องทางของนาฑีปิงคลา 8 โบราณ แต่มีวัตถุประสงค์ต่างกันกล่าวคือ ของ
8. ตำแหน่งหรือทางเดินของเส้นสุมนา อินเดียเป็นแบบท่าต่างๆที่พวกดาบสใช้ดัดตน
ของการนวดไทยอยู่ตรงกลางของร่างกาย จาก หลังจากอยู่ในอาสนโยคะท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลา
เหนือสะดือ 2 นิ้วมือ แล่นขึ้นไปภายในอก ผ่าน นานในการบำเพ็ญตบะเพื่อบรรลุโมกขธรรม แต่
ลำคอขึ้นไปสิ้นสุดที่โคนลิ้น ใกล้เคียงกับนาฑีสุ ของไทยนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้โรคเมื่อยที่จารึก
ษุมนาของโยคศาสตร์ที่เชื่อมจักระทั้ง 7 ในแนว ไว้ใน “โคลงฤๅษีดัดตน” สมัยรัชกาลที่สาม 3, 5
8
ตรงกลางของร่างกาย ในทางโยคศาสตร์ บาง อย่างไรก็ตาม ไม่พบหลักฐานที่เกี่ยวกับ
ตำราถือว่า นาฑีสุษุมนาเป็นเส้นที่สำคัญที่สุดใน เส้นประธานอื่นๆนอกเหนือจากเส้น อิทา ปิงคลา
3 เส้นหลัก สุมนา ว่ามีที่มาจากที่ใด รวมทั้งตำราการนวด