Page 9 - ภาพนิ่ง 1
P. 9
Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 3
สำนักพิมพ์ : ไพศาลการพิมพ์ ปี 2521 หน้า 17 การแพทย์แผนไทยทุกตัวหลับสบาย ไม่เกิด
ระบุว่า “ประโยชน์ทางยาของชุมเห็ดไทย เมล็ด อาการชักเลย ในขณะที่หนูกลุ่มที่ได้รับสารสกัด
คั่วให้ดำเกรียม ชงน้ำรับประทานเป็นยาระงับ แอลกอฮอล์ เกิดอาการชักหลายตัว
ประสาท ทำให้นอนหลับสบาย ต้นและรากเป็น สรุปผลการทดลองได้ว่า ตำรับยาชุมเห็ด
ยาแก้ไข้ ขับปัสสาวะ แก้กระษัย” ไทยตามตำราของครูแพทย์แผนไทย สามารถกัน
ดร.นพมาศ ซึ่งได้รับการชักชวนให้ทำการ ชักในหนูทดลองได้จริง ขณะที่กรรมวิธีตามทฤษฎี
ศึกษาเรื่องนี้ พิจารณาแล้วเห็นว่ายาที่ได้จาก ที่ควรจะได้ผลดีกว่ากลับไม่ได้ผล
กรรมวิธีการเตรียมดังกล่าวไม่น่าจะใช้แก้ชักหรือ การที่จะหาคำอธิบายว่า ทำไมเรื่องจึงกลับ
กันชักได้ เพราะก็คือการสกัดตัวยาโดยใช้น้ำร้อน ตาลปัตรเช่นนี้ คงต้องทำการศึกษาวิจัยอีกมาก
นั่นเอง สารที่ละลายออกมาน่าจะเป็นสารจำพวก แต่ผลการศึกษานี้ย่อมเป็นหลักฐานชิ้นหนึ่งที่
แป้งที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ คือพอลีแซคคาไรด์ ยืนยันความทรงคุณค่าของภูมิปัญญาการแพทย์
สารดังกล่าวจึงไม่น่าจะมีฤทธิ์ต่อสมองเพื่อแก้ แผนไทย
หรือกันชักได้ เพราะการที่เป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ ตำราการแพทย์แผนไทยในอดีตโดยมาก
ย่อมไม่สามารถซึมผ่าน “ปราการ” ที่กั้นกรอง มิได้ผ่านการศึกษาทดลองตามระเบียบวิธีอัน
ระหว่างระบบไหลเวียนโลหิตกับระบบประสาท เคร่งครัดของตะวันตกในปัจจุบัน เพราะพัฒนา
กลาง (Blood-brain barrier) ได้ จึงเสนอว่า ถ้า มาก่อน “ยุคโมเดิร์น” ซึ่งมีวิทยาศาสตร์เป็น
จะศึกษาเรื่องนี้ ควรเปลี่ยนตัวทำละลายเป็น รากฐานสำคัญ อย่างไรก็ดี ตำราการแพทย์แผน
แอลกอฮอล์แทน เพราะจะสามารถละลายตัวยา ไทยเกิดขึ้นจากประสบการณ์จริงของครูหมอใน
ที่มีโมเลกุลเล็กกว่าออกมาได้ โอกาสที่จะไปออก อดีตที่ได้มีการบันทึกไว้ และมีการชำระสะสาง
ฤทธิ์ที่สมองเพื่อแก้หรือกันชักย่อมเป็นไปได้มาก หรือแก้ไขปรับปรุงเป็นระยะๆ จากประสบการณ์
กว่า แต่ถ้าใช้วิธีละลายเช่นนั้น ก็จะไม่เป็นไปตาม การนำไปใช้และการพิจารณาของครูหมอรุ่นแล้ว
ตำรายาการแพทย์แผนไทย ในที่สุดจึงลงเอยด้วย รุ่นเล่า ตำราเหล่านี้จึงเป็นมรดกภูมิปัญญาอัน
การทำการสกัดทั้งโดยน้ำตามตำรา และด้วย ทรงคุณค่า ที่รอให้คนรุ่นเราได้ช่วยกันศึกษา
แอลกอฮอล์ตามทฤษฎีตะวันตก ทดลอง พิสูจน์ และพัฒนา เพื่อสามารถนำไปใช้
การทดลองเรื่องนี้ทำกับหนู โดยการป้อน ประโยชน์ได้อย่างมั่นใจ ทั้งต่อประชาชนชาวไทย
สารสกัดให้แก่หนูสองกลุ่ม แล้วทำให้หนูเกิด และเพื่อนร่วมโลกของเราทั้งมวล
อาการชักด้วยการให้สารกระตุ้นการชักคือ
เฟนิลีนเตตระซอล (Phennylenetetrazol)
หรือเรียกย่อๆ ว่า พีทีแซด (PTZ) ผลการทดลอง
พบว่า หนูที่ได้รับสารสกัดตามกรรมวิธีในตำรา