Page 25 - ภาพนิ่ง 1
P. 25

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine   Vol. 10 No. 1 January-April 2012   19





              ตารางที่ 3 ความเข้มข้นต่ำสุดของสารสกัดสมุนไพรต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่นำมาทดสอบ



                                                    ค่า MIC  (มก./มล.)
             เชื้อแบคทีเรีย

           ที่ทำการทดสอบ   สารสกัดฟักแม้ว  สารสกัดสะระแหน่  สารสกัดชะพลู   Chloramphenicol
                            ด้วยเมทานอล        ด้วยน้ำ      ด้วยเมทานอล

               E. coli          7.81              -               -              0.015

           K. pneumoniae          -             15.62             -              0.007
            S. epidermidis     62.50              -               -              0.031

              S. aureus           -               -            15.62             0.007




              วิจารณ์และสรุปผลการทดลอง               เส้นผ่านศูนย์กลางของฤทธิ์ยับยั้งสูงสุด คือ 20.46
               จากการทดลองสกัดสารจากสมุนไพรพื้นบ้าน  มิลลิเมตร และ 35.23 มิลลิเมตร ตามลำดับ

          จำนวน 7 ชนิด นำสารสกัดสมุนไพรความเข้มข้น  และสารสกัดจากน้ำด้วยสะระแหน่ สารสกัดจาก
          300 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร มาทดสอบประสิทธิผล  ชะพลูด้วยเมทานอลมีฤทธิ์ยับยั้งดีที่สุดต่อเชื้อ

          ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียจำนวน 4 สายพันธุ์ พบ K. pneumoniae และ S. aureus โดยมีค่าเฉลี่ย
          ว่าชนิดของสมุนไพรและสารละลายที่ใช้ในการสกัด  เส้นผ่านศูนย์กลางของฤทธิ์ยับยั้ง 19.15 มิลลิเมตร
          มีผลต่อประสิทธิผลในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย   และ 24.77 มิลลิเมตร ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบ

          การสกัดสมุนไพรด้วยเมทานอลมีประสิทธิผลในการ  กับยาคลอแรมเฟนิคอล  ความเข้มข้น  100
          ยับยั้งเชื้อมากที่สุดจำนวน 21 ตัวอย่างจากทั้งหมด   ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร  พบว่า  สารสกัดจาก

          28 ตัวอย่าง ในขณะที่สกัดด้วยน้ำมีประสิทธิผลใน สมุนไพรที่สามารถยับยั้งเชื้อ K. pneumoniae,
          การยับยั้งเชื้อน้อยที่สุดเพียงจำนวน 9 ตัวอย่าง   S. epidermidis และ S. aureus ได้ค่าเฉลี่ย
          สารสกัดสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพยับยั้งเชื้อ ทั้ง   เส้นผ่านศูนย์กลางฤทธิ์ยับยั้งกว้างกว่า

          4 ชนิด ได้แก่ สารสกัดผักชีฝรั่งด้วยเมทานอลและ  ยาคลอแรมเฟนิคอลมีจำนวน 3, 10 และ 9 ชนิด
          สารสกัดฟักแม้วด้วยเมทานอล ในขณะที่สารสกัด ตามลำดับ ในขณะที่ไม่มีสารสกัดสมุนไพรชนิดใด

          กะเพราด้วยน้ำไม่สามารถยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ทั้ง 4  สามารถยับยั้งเชื้อ E. coli ได้ค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์
          ชนิด เมื่อทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพร  กลางฤทธิ์ยับยั้งกว้างกว่ายาคลอแรมเฟนิคอล
          ในการยับยั้งเชื้อ E. coli และ S. epidermidis  เมื่อทดสอบหาความเข้มข้นสารสกัดต่ำสุดที่

          พบว่า สารสกัดจากฟักแม้วด้วยเมทานอล มีค่าเฉลี่ย  สามารถยับยั้งเชื้อ E. coli  และ S. epidermidis
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30