Page 30 - ภาพนิ่ง 1
P. 30

24   วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก         ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555





          คนยังมีความแตกต่างกัน องค์ความรู้ในการตรวจ       5.  ปวด/ยอก/เสียวชา หลัง เอว เกลียว
          วินิจฉัยโรคของการนวดไทย รวมทั้งการรักษา ข้างท้อง
          ด้วยการนวดเส้นประธานสิบจึงมักขึ้นอยู่กับความ     6.  ปวด/ขัด/ยอก ข้อสะโพก สลักเพชร

          รู้ความเข้าใจและการถ่ายทอดจากครูบาอาจารย์ กระเบนเหน็บ
          หมอดั้งเดิมที่ล่วงลับไป                          7.  ปวด/ขัด/เคล็ด/เสียวชา ข้อเข่า
               นอกจากนี้ครูหมอนวดไทยที่มีความรู้เรื่อง     8.  ปวด/เคล็ด/ขัด/เสียวชา ขา ข้อเท้า

          เส้นประธานสิบที่ยังมีชีวิตอยู่ก็มีเป็นจำนวนน้อย  เท้า
          และมีอายุมากจึงมีความจำเป็นต้องประมวลองค์        9.  อัมพฤกษ์ อัมพาต
          ความรู้และประสบการณ์เรื่องเส้นประธานสิบ          10. เอ็นอักเสบ

          จากครูหมอนวดที่มีอยู่ เพื่อนำมาจัดระบบและ        11. ปวด/เจ็บ/ขัด บริเวณส้นเท้า ฝ่าเท้า
          สังเคราะห์เป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค    12. นิ้วไกปืน
          ตามหลักของการนวดไทย รวมทั้ง การรักษาด้วย         งานวิจัยนี้ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ

          การนวดไทยตามทฤษฎีเส้นประธานสิบ เพื่อให้ พิจารณาการศึกษาวิจัยในคนด้านการแพทย์แผน
          หมอนวดไทยรุ่นใหม่ได้ศึกษาเรียนรู้สืบไป คณะผู้ ไทยและการแพทย์ทางเลือก  เมื่อวันที่  19
          วิจัยจึงดำเนินการศึกษากระบวนการตรวจ  สิงหาคม พ.ศ. 2553 ระยะเวลาดำเนินการวิจัย
          วินิจฉัย และการรักษาโรคและอาการตามทฤษฎี       ระหว่าง  8  กันยายน  พ.ศ.2553  ถึง  14

          เส้นประธานสิบและทฤษฎีธาตุของหมอนวดไทย.  พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
                      ระเบียบวิธีวิจัย

               การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบสังเกตการณ์  ประชากรที่ศึกษา
          (Observational study) โดยคณะผู้วิจัยส่วนหนึ่งเป็น     การศึกษานี้กลุ่มตัวอย่าง คืออาสาสมัคร
          ผู้สังเกตการซักประวัติ ตรวจร่างกาย วินิจฉัยและการ ที่มารับบริการที่งานการแพทย์แผนไทยและการ
          รักษาของหมอนวดไทย กลุ่มประชากรคือ อาสาสมัคร  แพทย์ทางเลือกของโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัย

          จำนวน 200 คน เพศชายและเพศหญิง อายุ 18-70 ปี  ภูเบศร จำนวน 200 คน ซึ่งมีอาการอยู่ใน 12
          ที่สมัครใจในการเข้าร่วมโครงการและมีอาการใดอาการ กลุ่มอาการ 2
          หนึ่งตามกลุ่มอาการ 12 กลุ่ม คือ            วิธีการ
                               2
               1.  ปวดศีรษะ                                1.  ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ซักประวัติเบื้อง
                                                                               3
               2.  ปวด/เคล็ด บริเวณคอ บ่า            ต้น วัดสัญญาณชีพ และสอบถามระดับความเจ็บ
               3.  ปวด/ขัด/เสียวชา/ติดบริเวณหัวไหล่  ปวดของอาสาสมัคร

          สะบัก                                            2.  ตัวแทนคณะวิจัยส่งอาสาสมัครไปรับ
               4.  ปวด/เคล็ด แขน ข้อศอก ข้อมือ มือ   การตรวจวินิจฉัย  และวางแผนการรักษากับ
                                                     แพทย์แผนปัจจุบันและบันทึกผลลงในแบบบันทึก
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35