Page 31 - ภาพนิ่ง 1
P. 31
Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 25
ของแพทย์แผนปัจจุบันโดยแพทย์ผู้ตรวจ ประชากรตัวอย่างโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
3. เมื่ออาสาสมัครตรวจกับแพทย์แผน คำนวณหาค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย เพื่อใช้ในการ
ปัจจุบันแล้ว จากนั้นตัวแทนคณะวิจัยส่งอาสา อธิบายคุณลักษณะการเจ็บป่วยของอาสาสมัคร
สมัครไปรับการตรวจ วินิจฉัย และรักษา ตาม สถิติไฆสแคว์ เพื่อเปรียบเทียบ ความเจ็บปวดของ
ทฤษฎีเส้นประธานสิบและทฤษฎีธาตุ โดยจะมี อาสาสมัครก่อนและหลังการรักษา
การบันทึกผลลงในแบบบันทึกของหมอนวดไทย ผลการศึกษา
ซึ่งในกระบวนการจะมีผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ส่วนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้น
สังเกตและมีส่วนร่วมในการรักษาภายใต้คำ 1.1 ข้อมูลทั่วไป
แนะนำของหมอนวดไทยด้วย อาสาสมัคร จำนวน 200 คน มีอาการ
4. ตัวแทนคณะวิจัยสอบถามระดับความ สำคัญอยู่ใน 12 กลุ่มอาการ ดังนี้ ปวดศีรษะ 6
เจ็บปวด และระดับความพึงพอใจของอาสาสมัคร คน ปวด/เคล็ด บริเวณคอ บ่า 41 คน ปวด/
หลังได้รับการรักษาของอาสาสมัครและบันทึกผล ขัด/เสียวชา/ติดบริเวณหัวไหล่ สะบัก 25 คน
การเก็บข้อมูล ปวด/เคล็ด แขน ข้อศอก ข้อมือ มือ 15 คน
5. การเก็บข้อมูลจะมีการเก็บข้อมูลใน ปวด/ขัด/เสียวชา หลัง เอว เกลียวข้างท้อง 47
แบบบันทึกของหมอนวดไทย แบบบันทึกจากการ คน ปวด/ขัด/ยอก ข้อสะโพก สลักเพชร
สังเกตของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย และแบบบันทึก กระเบนเหน็บ 9 คน ปวด/ขัด/เคล็ด/เสียวชา ข้อ
ของแพทย์แผนปัจจุบัน เข่า 23 คน ปวด/เคล็ด/ขัด/เสียวชา ขา ข้อเท้า
เท้า 10 คน อัมพฤกษ์ อัมพาต 11 คน เอ็น
การวิเคราะห์ข้อมูล อักเสบ 1 คน ปวด/เจ็บ/ขัด บริเวณ ส้นเท้า
การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่ม ฝ่าเท้า 9 คน และนิ้วไกปืน 3 คน
ตารางที่ 1 อาการป่วยของอาสาสมัครที่เข้าร่วมโครงการแยกตามกลุ่มอาการ 12 กลุ่ม
เป้าหมาย อาสาสมัครที่เข้าร่วม
อาการป่วยที่มาพบแพทย์ อาสาสมัคร เพศชาย เพศหญิง รวม (คน)
(คน)
(คน) (คน)
1. ปวดศีรษะ 10 2 4 6
2. ปวด/เคล็ด บริเวณ คอ บ่า 40 9 32 41
3. ปวด/ขัด/เสียว/ชา/ติด บริเวณหัวไหล่ 20 5 20 25
สะบัก
4. ปวด/เคล็ด แขน ข้อศอก ข้อมือ มือ 10 4 11 15