Page 36 - ภาพนิ่ง 1
P. 36
30 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555
ที่เจ็บแล้ว ผู้ป่วยมีความรู้สึกว่ามีการแล่นของลม ไม่ ปรากฏว่าผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้น ตำแหน่งที่กดนี้
แสดงว่าลมไม่ผิดปกติ แต่มีการติดขัดตามแนว หมอนวดไทยบอกว่าเป็น “จุดปัศฆาต” (จุดซึ่งอยู่
เส้นประธาน ในแนวเดียวกับสะบัก แต่อยู่บริเวณใต้สะบัก)
การกดจุดไกลจากตำแหน่งที่มีอาการ ใน ทั้งนี้ หมอนวดอธิบายว่า ถ้ากดแล้วผู้ป่วยรู้สึก
กรณีที่กดจุดใกล้กับตำแหน่งที่มีอาการ (แต่อยู่ใน เจ็บหรือแล่นบ้างแสดงว่ามีความผิดปกติเล็กน้อย
แนวเส้นเดียวกัน) แล้ว ผู้ป่วยไม่รู้สึกว่ามีการแล่น แต่ถ้ากดแล้วมีความรู้สึกตื้อหรือปวดมาก แสดง
หมอนวดจะกดตรงจุดที่ไกลออกมา โดยไล่จาก ว่ามีความผิดปกติ
ส่วนปลายเข้ามา คือจากจุดซึ่งอยู่ในแนวเส้นที่
พาดผ่านจุดผิดปกติซึ่งอยู่ห่างออกไปหรือตรง หมายเหตุ
อวัยวะที่แตกต่างกันกับจุดที่มีอาการ เช่น กดจุด ในการตรวจด้วยทฤษฎีเส้นประธานสิบ
ที่สะบักแล้วไม่แล่น หมอจะกดจุดที่ศีรษะว่าแล่น ของหมอนวดไทย พบว่ามีบางอาการที่เมื่อตรวจ
(ในแนวเส้นอิทา) หรือไม่ เป็นต้น โดยการกดตามแนวเส้นประธานสิบแล้ว ไม่พบว่า
อีกตัวอย่างหนึ่ง คือ ผู้ป่วยมีอาการปวดบ่า มีความผิดปกติของเส้นประธานสิบ แต่มีความผิด
หมอนวดกดไล่ลงมาที่หลัง หากพบว่ากล้ามเนื้อมี ปกติในแนวเส้นอื่น เช่น เส้นรัตฆาต เส้น
ลักษณะเป็นไตหรือเป็นก้อน หมอจะกดตรง สันทฆาต เส้นปัศฆาต เป็นต้น เส้นเหล่านี้ถือเป็น
ตำแหน่งนั้น แล้วถามผู้ป่วยว่ารู้สึกดีขึ้นหรือไม่ เส้นอื่นๆ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ เส้นประธานสิบ
หากผู้ป่วยยังไม่รู้สึกดีขึ้น ก็จะกดจนผู้ป่วยรู้สึกดี คือมีจุดที่เกี่ยวเนื่องกับเส้นประธานสิบ โดยอยู่ใน
ขึ้น จากนั้นหมอถามว่าอาการที่บ่าดีขึ้นด้วยหรือ แนวขวางที่พาดผ่านเส้นประธานสิบ
ตารางที่ 3 เส้นประธานสิบที่ติดขัดจากการวินิจฉัยของหมอนวดไทย
เส้นที่ระบุว่ามีการติดขัด จำนวน ร้อยละ
อิทา-ปิงคลา 40 20.0
กาลทารี 38 19
อิทา-ปิงคลา-กาลทารี 31 15.5
อิทา-กาลทารี 11 5.5
อิทา 10 5.0
อิทา-ปิงคลา-สุมนา 8 4.0
อิทา-ปิงคลา-สุมนา-กาลทารี 7 3.5