Page 40 - ภาพนิ่ง 1
P. 40
34 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555
เลี้ยงบริเวณนั้นไม่พอ แสดงว่ามีความผิดปกติ ปวดเข่าและขา หมอวินิจฉัยว่ากล้ามเนื้อ (ดิน)
เกี่ยวกับธาตุน้ำ (อาโป) ตัวอย่างเช่น ดินคือกล้าม แข็งเกร็ง ร่วมกับมีอาการปวด คือ ลม (อัง
เนื้อ (มังสัง) แข็งเกร็ง ทำให้ลมและเลือดเดิน มิ คมังคานุสารีวาตา) กำเริบ เป็นต้น
สะดวก จึงเกิดอาการปวดขึ้น ผู้ป่วยที่มีอาการ
ตารางที่ 10 จำนวนอาสาสมัครที่มีความผิดปกติของธาตุสี่ตามการวินิจฉัยของหมอนวดไทย
ลักษณะ จำนวน ร้อยละ
ธาตุ 4 ที่ผิดปกติ
ธาตุดิน 99 49.5
ธาตุน้ำ 32 16.0
ธาตุลม 59 29.5
ธาตุไฟ 8 4.0
มากกว่า 1 ธาตุ 2 1.0
รวม 200 100
การศึกษา พบว่า ธาตุที่มีความผิดปกติ โดยนวดไม่เกิน 3 รอบ ซึ่งจะทำการประเมิน
มากที่สุดคือ ธาตุดิน ร้อยละ 49.5 รองลงมาคือ อาการหลังจากนวดเสร็จแต่ละรอบ
ธาตุลม ร้อยละ 29.5 ธาตุน้ำ ร้อยละ 16.0 ธาตุ 2. การรักษาตามอาการ ด้วยการกดจุด
ไฟ ร้อยละ 4.0 ตามลำดับ หรือกดจุดตามแนวเส้นที่ผิดปกติ โดยเน้นที่จุด
สันทคาต จุดปัศฆาตและจุดรัตฆาต ซึ่งจะมีการ
ส่วนที่ 3 การรักษา ประเมินอาการหลังจากนวดแต่ละครั้ง
จากการสังเกตการรักษาของหมอนวดไทย 3. การรักษาโดยใช้วิธีอื่นๆ ร่วมด้วย
6 คน พบว่ามีวิธีการรักษาเฉพาะตนแตกต่างกัน ได้แก่ การประคบ การอบสมุนไพร หรือนวด
ไป สรุปได้ดังนี้ น้ำมัน ก่อนที่จะทำการนวด เพื่อคลายกล้าม
1. การรักษาโดยเน้นการเปิดประตูลม ที่ เนื้อที่มีความตึงเกร็งมาก นอกจากนี้ หมอนวด
ขา แขน หัวไหล่ เพื่อช่วยให้เลือดลมเดินสะดวก บางท่านมีการสั่งยาสมุนไพรให้ผู้ป่วยด้วย
(การไหลเวียนดีขึ้น) แล้วจึงรักษาตามอาการของ 4. การรักษาโดยเน้นการนวดตามหลัก
ผู้ป่วย ด้วยการกดจุดหรือกดจุดตามแนวเส้น การนวดเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (เฉพาะส่วน) ซึ่ง
ประธานสิบที่วินิจฉัยว่าเกิดความผิดปกติ (ติดขัด) หมอนวดบางท่านเชื่อมั่นว่าเป็นการนวดตามแนว