Page 38 - ภาพนิ่ง 1
P. 38
32 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555
โดยให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยสัมภาษณ์และบันทึก ในการประเมินสภาวะโดยรวมของผู้ป่วย และให้คำ
ข้อมูลการวินิจฉัยอาการด้วยทฤษฎีธาตุของหมอ แนะนำเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการซ้ำ ทั้งนี้หมอนวด
นวดไทย พบว่า หมอนวดไทยใช้ หลักสมุฏฐาน แต่ละคนจะใช้หลักการเหล่านี้แตกต่างกันตามความ
วินิจฉัย ธาตุเจ้าเรือน และความสัมพันธ์ของตรีโทษะ รู้ความชำนาญของตน
ตารางที่ 4 การจำแนกตรีโทษะตามเจ้าเรือนของอาสาสมัคร
ลักษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ จำนวนทั้งหมด
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
เจ้าเรือน 49 19.6 122 48.8 79 31.6 250
การศึกษา พบว่าอาสาสมัครมีเจ้าเรือนแตกต่างกัน โดยบางคนที่มีลักษณะเจ้าเรือนมากกว่า 1
ตรีโทษะ จึงทำให้มีเจ้าเรือนปิตตะมากที่สุด จำนวน 122 ร้อยละ 48.8 เจ้าเรือนวาตะ จำนวน 79 ร้อย
ละ 31.6 เจ้าเรือนเสมหะ จำนวน 49 ร้อยละ 19.6
ตารางที่ 5 การจำแนกตรีโทษะตามฤดูกาล
ลักษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวนทั้งหมด
ฤดูกาล 29 15.68 1 0.54 155 83.78 185
การศึกษา พบว่าอาสาสมัครมีอาการในฤดูที่เป็นวาตะมากที่สุดร้อยละ 83.78 เสมหะร้อยละ
15.68 ปิตตะร้อยละ 0.54 โดยอาสาสมัครบางคนจะมีอาการในหลายช่วงฤดู
ตารางที่ 6 การจำแนกตรีโทษะตามอายุของอาสาสมัคร
ลักษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวนทั้งหมด
อายุ 0 0 23 11.5 177 88.5 200
การศึกษา พบว่า อาสาสมัครมีอายุอยู่ในลักษณะวาตะมากที่สุด ร้อยละ 88.5 ปิตตะ
ร้อยละ 11.5