Page 43 - ภาพนิ่ง 1
P. 43

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine   Vol. 10 No. 1 January-April 2012   37





               การศึกษา พบว่า ระดับความเจ็บปวดหลังเข้ารับการรักษาลดลง โดยอาการปวดลดลงมากกว่า
          ร้อยละ 80 จำนวน 70 คน รองลงมาอาการปวดลดลง ร้อยละ 60-80 จำนวน 67 คน



          ตารางที่ 13 การเปรียบเทียบระดับระดับความเจ็บปวด (pain scale) ก่อนและหลังการนวด


                            ระดับความ      จำนวนอาสา      ค่าเบี่ยงเบน
            ระยะการนวด                                                  Correlation      P
                          เจ็บปวด(เฉลี่ย)     สมัคร        มาตรฐาน

          ก่อนการรักษา        5.050           200            1.561          0.427      <0.05


          หลังการรักษา        1.515           200            1.279


               การศึกษา พบว่า อาสาสมัครทั้ง 200 คน  ลักษณะ กล่าวคือ วินิจฉัยโดยระบุอาการแสดง

          มีระดับความเจ็บปวดก่อน และหลังเข้ารับการ ร่วมกับตำแหน่งที่มีอาการ เช่น ปวดบ่า ปวดหลัง
          รักษาเฉลี่ยเป็น 5.05 และ 1.515 ตามลำดับ    ปวดเอว ปวดศีรษะ เป็นต้น ในขณะที่บางอาการ

                                                     หมอนวดไทยวินิจฉัยโดยระบุชื่ออาการหรือโรค
          ส่วนที่ 4 การเปรียบเทียบการวินิจฉัยอาการ/โรค ตามคัมภีร์ โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับลม เช่น ลม
          ของหมอนวดไทยกับแพทย์แผนปัจจุบัน            ปะกัง ลมจับโปง ลมดูดสะบัก เป็นต้น นอกจากนี้

               จากการเปรียบเทียบการวินิจฉัยอาการ/ หมอนวดไทยบางคนวินิจฉัยอาการ/โรคโดย
          โรคของหมอนวดไทยกับแพทย์แผนปัจจุบันใน สัมพันธ์กับธาตุสี่ เช่น นหารูพิการ อัฏฐิพิการ

          กลุ่มอาการทั้ง 12 กลุ่มของอาสาสมัคร พบว่า ปถวีธาตุพิการ เป็นต้น
          แพทย์แผนปัจจุบันวินิจฉัยอาการ/โรคใน  2
          ลักษณะ กล่าวคือ ในกรณีที่อาการนั้น สามารถ           ข้อสังเกตและวิจารณ์

          วินิจฉัยโดยระบุชื่อโรคได้ แพทย์แผนปัจจุบันจะ  1. ความสัมพันธ์ระหว่างอาการของอาสาสมัคร
          วินิจฉัยโดยระบุชื่อโรค  เช่น  tendonitis,   กับสาเหตุและปัจจัยของการเจ็บป่วย

          osteoarthritis เป็นต้น แต่หากอาการนั้นเป็น       จากการศึกษาอาสาสมัคร 200 คนที่เข้า
          อาการที่ยังไม่สามารถวินิจฉัยโดยระบุชื่อโรคได้   ร่วมโครงการซึ่งมีอาการเจ็บป่วยตามกลุ่มอาการ
          แพทย์แผนปัจจุบันจะวินิจฉัยโดยระบุเป็นอาการ   12 กลุ่ม จำแนกตามวัย พบว่าอยู่ในปัจฉิมวัย (32

          เช่น myalgia, fibromyalgia, cervical pain,   - 70 ปี) ถึงร้อยละ 89.0 ที่เป็นเช่นนี้ส่วนหนึ่ง
          knee pain เป็นต้น                          อาจเพราะปัจฉิมวัย (ตามการแบ่งช่วงอายุของ

               ส่วนการวินิจฉัยอาการ/โรคของหมอนวด     การแพทย์แผนไทย) ครอบคลุมช่วงอายุมากกว่า
          ไทย  จะวินิจฉัยโดยระบุอาการ/โรคในหลาย      อีกสองกลุ่ม คือ ปฐมวัย (แรกเกิด - 16 ปี) และ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48