Page 45 - ภาพนิ่ง 1
P. 45
Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 39
ตรงกับแนวเส้นด้านหน้า จึงทำให้ครอบคลุมส่วน ใหญ่ หมอนวดไทยมักไม่นิยมกดจุดเพื่อดูการ
6
ต่างๆ ของร่างกายมาก ดังนั้น เส้นอิทา ปิงคลา แล่นของความรู้สึกบนเส้นประธานสิบที่พาดผ่าน
และกาลทารี เป็นเส้นที่มีความสำคัญสำหรับหมอ จุดที่มีอาการ สังเกตได้จากในช่วงแรกของการ
นวดไทยที่จะต้องรู้จักแนวและวิธีการนวดเป็น วิจัย เมื่อมีการซักประวัติการเจ็บป่วยและตรวจ
อย่างดี ร่างกายแล้ว หมอนวดไทยสามารถบอกเส้น
แต่หากตรวจแล้วไม่พบว่ามีการติดขัดของ ประธานสิบที่มีการติดขัดได้ทันทีโดยไม่จำเป็น
เส้นประธานใด หมอนวดจะวินิจฉัยว่าเกิดจาก ต้องกดจุดใดๆ โดยให้เหตุผลว่ารู้อยู่แล้วว่าอาการ
ปัญหาเกี่ยวกับทางเดินของลม ที่ผิดปกติอยู่บนหรือสัมพันธ์กับเส้นประธานใด
หลังจากตรวจและวินิจฉัยอาการของผู้ จึงไม่จำเป็นต้องกดให้เสียเวลา หมอนวดบางคน
ป่วยโดยสัมพันธ์กับเส้นประธานหรือทางเดินของ อธิบายว่ากรณีนี้อาจเปรียบได้กับการคิดเลขตอน
ลมแล้ว หมอนวดไทยจะทำการรักษาด้วยการ ที่ยังคิดเลขไม่เป็นก็ต้องคิดในกระดาษ แต่เมื่อมี
นวด รวมทั้งการใช้วิธีการอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น การ ความชำนาญมากก็สามารถคิดในใจได้ คณะผู้
1
ประคบ การอบสมุนไพร และการนวดน้ำมัน วิจัยจึงทำความเข้าใจกับหมอนวดไทยว่า ในการ
จากการสังเกตการตรวจ วินิจฉัย และการ ศึกษาต้องการศึกษากระบวนการตรวจวินิจฉัย
รักษาของหมอนวดไทยทั้ง 6 คน กล่าวได้ว่ามี ด้วยเส้นประธานสิบ หมอนวดไทยจึงยินดีตรวจ
แบบแผนที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือ หมอนวดจะใช้ เส้นประธานสิบให้แก่อาสาสมัคร
ข้อมูลจากการซักประวัติเป็นหลักในเบื้องต้น ร่วม สำหรับการตรวจและวินิจฉัยโดยใช้ทฤษฎี
กับการสังเกตท่าทาง สีหน้า และแววตาของผู้ ธาตุนั้น หมอนวดไทยมีการใช้ทฤษฎีธาตุค่อนข้าง
ป่วย ประกอบการตรวจร่างกายด้วยการดู ฟัง น้อย ซึ่งคณะผู้วิจัยตระหนักในเรื่องนี้ จึงมีการ
เคาะ คลำ อย่างไรก็ตาม หมอนวดไทยบางคน พัฒนาแบบบันทึกข้อมูลซึ่งสัมพันธ์กับทฤษฎีธาตุ
อาจมีเทคนิคพิเศษที่ต่างจากคนอื่น เช่น การจับ ในการแพทย์แผนไทยในประเด็นเกี่ยวกับ
1,5
ชีพจร การดูลิ้น สมุฏฐานวินิจฉัย ดังตารางที่ปรากฏในผลการ
ข้อสังเกตอีกประการหนึ่งคือ หมอนวด ศึกษา
ไทยทั้งหกคนใช้การนวดในการวินิจฉัย และการ โดยในการศึกษาเกี่ยวกับสมุฏฐาน พบว่า
รักษา รวมทั้งการประเมินความรุนแรงของโรค อาการของอาสาสมัครเกี่ยวข้องกับปัจจัยของ
ด้วย จึงอาจกล่าวได้ว่า การวินิจฉัยและการรักษา วาตะเป็นหลัก ซึ่งอาจเป็นเพราะอาสาสมัครส่วน
ของหมอนวดไทยไม่สามารถแยกขาดออกจากกัน ใหญ่อยู่ในปัจฉิมวัย ระยะเวลาของการศึกษาวิจัย
ได้เช่นเดียวกับแพทย์แผนปัจจุบัน อยู่ในช่วงฤดูฝน ซึ่งเป็นฤดูที่วาตะกำเริบได้ง่าย
ในส่วนของการตรวจเส้นประธานสิบซึ่ง อาสาสมัครส่วนใหญ่มีอาชีพใช้แรงงาน ซึ่งเป็น
เป็นสาระสำคัญของการวิจัยชิ้นนี้นั้น พบว่าส่วน ปัจจัยที่ทำให้วาตะกำเริบ จนทำให้เกิดอาการ