Page 39 - ภาพนิ่ง 1
P. 39
Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 33
ตารางที่ 7 การจำแนกตรีโทษะตามช่วงเวลาของการเจ็บป่วย
ลักษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวนทั้งหมด
เวลา 93 33.70 74 26.81 109 39.49 276
การศึกษา พบว่า เวลาที่อาสาสมัครมีอาการอยู่ในลักษณะวาตะ ร้อยละ 39.49 เสมหะ ร้อยละ
33.70 ปิตตะ ร้อยละ 74
ตารางที่ 8 การจำแนกตรีโทษะตามรสชาติของอาหารที่อาสาสมัครชอบรับประทาน
ลักษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวนทั้งหมด
อาหาร 78 32.91 115 48.52 44 18.57 237
การศึกษา พบว่า อาสาสมัครมีลักษณะการรับประทานอาหารปิตตะร้อยละ 48.52 เสมหะร้อย
ละ 32.91 วาตะร้อยละ 18.57
ตารางที่ 9 การจำแนกตรีโทษะตามพฤติกรรมของอาสาสมัคร
ลักษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ จำนวนทั้งหมด
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
พฤติกรรม 44 18.41 47 19.67 148 61.92 239
การศึกษาพบว่า อาสาสมัครมีลักษณะพฤติกรรมเป็น วาตะ ร้อยละ 61.92 ปิตตะ ร้อยละ
19.67 เสมหะ ร้อยละ 18.41
ในส่วนของการวินิจฉัยอาการตามทฤษฎีธาตุของหมอนวดไทย 6 คน พบว่าส่วนใหญ่หมอนวด
จะระบุอาการของผู้ป่วยว่าสัมพันธ์กับธาตุที่ผิดปกติ คือ ธาตุดิน (ปถวี) ธาตุลม (วาโย)และธาตุน้ำ (อา
โป) กล่าวคือ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการปวด หมอนวดจะวินิจฉัยว่าสัมพันธ์กับธาตุลม (วาโย) กำเริบ ถ้ามี
อาการตึงหรือแข็งเกร็ง แสดงว่าธาตุดิน (ปถวี) กำเริบ และหากอาการนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับเลือดไป