Page 35 - ภาพนิ่ง 1
P. 35

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine   Vol. 10 No. 1 January-April 2012   29





          และประเมินอาการไปพร้อมๆ กัน                ดิ่งก่อน จากนั้นจะกดนิ่งโดยลงน้ำหนักที่ปลายนิ้ว
               2.2 การตรวจและวินิจฉัยตามทฤษฎีเส้น ระหว่างที่กดนิ่ง จะส่งแรงไปในทิศทางเดียวกับ

          ประธานสิบ                                  จุดที่มีความผิดปกติในแนวเส้นประธานนั้น จาก
               การตรวจและวินิจฉัยโรค/อาการตาม นั้นจึงค่อยๆ  ผ่อนแรงกดก่อนจะถอนนิ้วออก

          ทฤษฎีเส้นประธานสิบของหมอนวดไทย มี 2 วิธี  ระหว่างที่กดลงตามแนวดิ่งรวมทั้งขณะที่ส่งแรง
          คือ                                        ไปจากตำแหน่งที่กด หมอจะถามผู้ป่วยว่ามีความ
                 2.2.1  ตรวจที่จุดกำเนิดของเส้น รู้สึกแล่นไปไหนหรือไม่ และรู้สึกตึงหรือไม่ เช่น

          ประธาน                                     ในแนวเส้นอิทาและปิงคลา หมอนวดจะส่งแรงลง
                 หลังจากตรวจอาการของผู้ป่วยแล้ว  ด้านล่าง (ไปทางปลายเท้า) ส่วนเส้นกาลทารีจะ

          หมอนวดมักเทียบกับแนวทางเดินของเส้น ส่งแรงทั้งลงข้างล่างและขึ้นข้างบน (ตามแนวเส้น
          ประธานสิบว่า ตำแหน่งที่มีอาการมีเส้นประธาน ประธานนั้น) และถามผู้ป่วยว่ามีความรู้สึกว่าแล่น
          ใดพาดผ่านบ้าง จากนั้นจะทำการกดที่จุดกำเนิด ไปไหน หรือมีความรู้สึกอย่างไร

          ของเส้นประธานที่คาดว่าจะติดขัดหรือมีปัญหา          2.2.2  ตรวจตามแนวเส้นประธาน
          (หมอนวดบางคนจะนวดโกยท้องก่อนกดเส้น สิบที่มีอาการ

          ประธานสิบ) และดูว่าผู้ป่วยมีความรู้สึกอย่างไร     การตรวจและวินิจฉัยโรคตามทฤษฎีเส้น
          และสอบถามผู้ป่วยว่ามีความรู้สึกแล่นหรือไม่ ประธานสิบอีกวิธีหนึ่งคือ การกดบริเวณที่อยู่ใน
          แล่น (“ความรู้สึกแล่น” หมายถึง มีความรู้สึกว่า แนวเส้นประธานซึ่งมีทั้งการกดตรงตำแหน่งที่ใกล้

          มีความร้อนแล่นจากจุดที่กดไปตามเส้นประธาน หรือห่างจากจุด/บริเวณที่มีอาการ (ไม่กดจุดที่มี
          นั้น ส่วน “ความรู้สึกไม่แล่น” หมายถึง ไม่รู้สึกว่า อาการ) เพื่อดูว่าเป็นเส้นประธานสิบเส้นอะไร

          มีความร้อนแล่นไป หรือมีความรู้สึกตื้อหรือหน่วง และถามผู้ป่วยว่ามีความรู้สึกแล่น/ไม่แล่นอย่างไร
          บริเวณที่กด)                               (แต่ถ้าหากกดตรงตำแหน่งที่มีอาการ จะดูว่าเกิด
               หากผู้ป่วยมีความรู้สึกแล่น รวมทั้งถ้ากด จากลมหรือเส้น)

          ในช่วงแรกแล้วไม่รู้สึกตรงตำแหน่งที่กด แต่มา      การกดจุดใกล้กับตำแหน่งที่มีอาการ เช่น
          รู้สึกในจุดที่ห่างออกไปบนแนวเส้นประธานนั้น  ผู้ป่วยคนหนึ่งมีอาการปวดที่บ่าและต้นคอ หมอ

          แสดงว่าเส้นประธานนั้นปกติ แต่ถ้าไม่แล่นหรือ ตรวจโดยกดจุดตามแนวสะบัก แต่ห่างจากสะบัก
          ไม่รู้สึกอะไรเลย แสดงว่ามีการติดขัดของแนวเส้น 2 นิ้ว กดโดยหันนิ้วหัวแม่มือชี้ขึ้น และถามผู้ป่วย
          ประธานนั้น                                 ว่ามีความรู้สึกแล่นขึ้นถึงคอหรือไม่ (แล่นไปจุดที่

               การกดที่จุดกำเนิดของเส้นประธาน หมอ มีปัญหาหรือไม่) เป็นต้น โดยหมอนวดอธิบายว่า
          นวดจะใช้แรงกดเท่ากันตลอด ซึ่งจะดูระยะทาง ในกรณีที่มีการติดขัดของลม ผู้ป่วยอาจมีความ

          และความแรงด้วยโดยที่เวลากดจะกดลงตามแนว รู้สึกแล่นหรือไม่แล่นก็ได้ แต่หากกดตรงตำแหน่ง
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40