Page 96 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 96

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  579




            แบ่งเป็นฉลากที่เขียนหมายเลข 1 คือ กลุ่มที่ได้รับยา        2.2.2 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลเกี่ยวกับโรค
            ขี้ผึ้งกัญชา จ�านวน 30 ชิ้น และฉลากที่เขียนหมายเลข   และอาการเจ็บป่วย ระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม

            2 คือ กลุ่มที่ได้รับยาขี้ผึ้งไพล จ�านวน 30 ชิ้น  วิเคราะห์โดยใช้สถิติ chi-square test ก�าหนดนัย
                    2.1.4 ผู้วิจัยให้ค�าแนะน�าเกี่ยวกับการใช้  ส�าคัญทางสถิติ α = 0.05
            ยาและการปฏิบัติตนในชีวิตประจ�าวันที่เหมาะสม         2.2.3 การเปรียบเทียบผลต่างคะแนน

            เช่น ไม่ยกของหนัก ไม่ท�างานหนัก ท่าทางในการลุก/  ความปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ ก่อนและหลัง ใช้ยา
            นั่ง เป็นต้น และทดสอบการระคายเคืองก่อนเริ่มการ  ขี้ผึ้งแต่ละตัว (เปรียบเทียบภายในกลุ่ม) วิเคราะห์
            ศึกษา โดยให้กลุ่มตัวอย่างทายาขี้ผึ้งที่ได้รับ บริเวณ  โดยใช้สถิติ paired t-test หากข้อมูลมีการกระจาย

            ผิวหนังใต้ท้องแขน ขนาดประมาณเหรียญ 10 บาท   ตัวแบบปกติ (normal distribution) และหากข้อมูล
            จ�านวน 1 ต�าแหน่ง และสังเกตอาการหลังทายาขี้ผึ้ง   มีการกระจายไม่เป็นแบบปกติ ใช้สถิติ Wilcoxon
            30 นาที                                     signed rank test ในการวิเคราะห์ ก�าหนดนัยส�าคัญ

                    2.1.5 การบริหารยา ผู้เข้าร่วมวิจัยใช้ยาขี้  ทางสถิติ α = 0.05 (ใช้สถิติ Shapiro-Wilk test ใน
            ผึ้งปริมาณ 1 กรัม ทาและถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการ  การทดสอบการแจกแจง)

            ปวด วันละ 2 ครั้ง หลังอาบน�้าเช้าและเย็น ติดต่อกัน         2.2.4 การเปรียบเทียบผลต่างคะแนน
            14 วัน ท�าการประเมินอาการปวดก่อนเริ่มการศึกษา  ความปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ ก่อนและหลังใช้ยาขี้
            และระหว่างการศึกษาทุกวัน โดยบันทึกคะแนนระดับ  ผึ้งกัญชาและยาขี้ผึ้งไพล (เปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม)

            อาการปวด หลังทายาขี้ผึ้ง 30 นาที            โดยใช้สถิติ unpaired t-test หากข้อมูลมีการกระจาย
                    2.1.6 หลังวันสิ้นสุดการศึกษา ผู้เข้าร่วม  ตัวแบบปกติ (normal distribution) และหากข้อมูล

            วิจัยน�าแบบสอบถามข้อมูล แบบประเมินผล และ    มีการกระจายไม่เป็นแบบปกติ ใช้สถิติ Wilcoxon-
            สมุดบันทึกกิจกรรม ใส่ซองตอบกลับแล้วน�าไปส่ง ณ   Mann-Whitney test ในการวิเคราะห์ ก�าหนดนัย
            คลินิกการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรง  ส�าคัญทางสถิติ α = 0.05 (ใช้สถิติ Shapiro-Wilk

            พยาบาลเรณูนคร ในกรณีที่ผู้เข้าร่วมวิจัยทายาขี้ผึ้ง  test ในการทดสอบการแจกแจง)
            กัญชาหรือยาขี้ผึ้งไพลแล้วอาการดีขึ้นหรือเกิดอาการ
            ไม่พึงประสงค์จากยาขี้ผึ้งแล้วหยุดยา ใช้ยาขี้ผึ้งไม่       ผลก�รศึกษ�

            ครบ 14 วัน ให้ผู้เข้าร่วมบันทึกอาการ วัน เวลา และ     การศึกษานี้ท�าการศึกษาในเจ้าหน้าที่โรง
            เหตุผลที่หยุดยา แล้วน�าส่งหลังวันสิ้นสุดการศึกษา  พยาบาลเรณูนคร ที่มารับบริการ ณ คลินิกการ
                 2.2  การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ โดยใช้  แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาล

            โปรแกรมสถิติส�าเร็จรูป SPSS version 27 ดังนี้  เรณูนคร และได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แผนไทย
                    2.2.1 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลเกี่ยวกับโรค  ว่า มีอาการปวดกล้ามเนื้อ คอ บ่า ไหล่ ในช่วงเดือน

            และอาการเจ็บป่วย ของตัวอย่างแต่ละกลุ่ม วิเคราะห์  พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2565
            โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่า  จ�านวน 60 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างที่ได้
            เฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน              รับยาขี้ผึ้งกัญชา (กลุ่มทดลอง) จ�านวน 30 คน และ
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101