Page 93 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 93

576 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           ดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง จากนโยบายและทิศทาง  ยาขี้ผึ้งไพลในการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ ดังนั้น
           การขับเคลื่อนของกรมการแพทย์แผนไทยและการ     การศึกษานี้จึงท�าการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผล

           แพทย์ทางเลือกปี พ.ศ. 2558 ถึง พ.ศ. 2559 โดยมี  ของยาขี้ผึ้งกัญชากับยาขี้ผึ้งไพลในการรักษาอาการ
           ค�าขวัญว่า “เจ็บป่วยคราใด ใช้ยาไทย ก่อนไปหาหมอ’’   ปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ ของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล
           สนับสนุนให้ประชาชนดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น  เรณูนคร จังหวัดนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

           โดยใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพและรักษาเบื้องต้น   ศึกษาประสิทธิผลของยาขี้ผึ้งกัญชาเปรียบเทียบกับ
           สมุนไพรเป็นทางเลือกที่น่าสนใจในการดูแลสุขภาพ   ยาขี้ผึ้งไพลในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อคอ
           เพราะมีราคาถูก ปลอดภัย ผลข้างเคียงน้อย และเข้า  บ่า ไหล่ และเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมการใช้ยา

           ถึงได้ง่าย [8]                              สมุนไพรให้แพร่หลายมากขึ้น อาจน�าไปสู่การเพิ่มข้อ
                กัญชา (cannabis) เป็นสมุนไพรที่ประชาชน  บ่งใช้ของยานี้ในบัญชียาสมุนไพรในงานสาธารณสุข
           ส่วนใหญ่ก�าลังให้ความสนใจ เนื่องจากกระทรวง  มูลฐาน เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับยานี้ อีกทั้งยังเป็นการ

           สาธารณสุขมีนโยบายสนับสนุนการใช้กัญชาทางการ  สนับสนุนนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมการใช้ยา
           แพทย์ เพื่อสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากกัญชา   สมุนไพร

           โดยประชาชนทั่วไปสามารถใช้กัญชาทางการแพทย์
           ได้อย่างถูกกฎหมาย โดยในกัญชามีสารส�าคัญ คือ             ระเบียบวิธีศึกษ�
           delta-9-tetra hydrocannabinol (THC) และ can-     การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-

                        [9]
           nabidiol (CBD)  จากการรวบรวมข้อมูลประโยชน์  experimental research) แบบสุ่มเปรียบเทียบแบบ
           ในการระงับปวดของกัญชา พบว่า ส่วนใหญ่เป็นการ  ปกปิดด้านเดียว (single-blinded randomized

           ศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดกัญชาต่ออาการปวด   control trail) โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบ
           ในผู้ป่วยโรคมะเร็ง และรูปแบบสารสกัดกัญชาใน  ง่าย (simple random sampling) ด้วยวิธีจับฉลาก
           การศึกษา คือ น�้ามัน (oils) และสเปรย์ (sprays) [10-11]    (lottery) เปรียบเทียบประสิทธิผลของยาขี้ผึ้งกัญชา

           ส่วนสารสกัดกัญชาในรูปแบบขี้ผึ้ง พบว่า ส่วนใหญ่  กับยาขี้ผึ้งไพลในการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อคอ
           ท�าการศึกษาประสิทธิผลในผู้ป่วยโรคผิวหนัง เช่น   บ่า ไหล่ ของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเรณูนคร จังหวัด
           atopic dermatitis เป็นต้น [12-13]  ในจังหวัดนครพนม  นครพนม โดยด�าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ในช่วง

           มีโรงพยาบาลที่สามารถผลิตยาสมุนไพรและผ่านการ  เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ.
           รับรองมาตรฐานการผลิต (good manufacturing    2565
           practice: GMP) จ�านวน 1 แห่ง คือ โรงพยาบาล      การศึกษานี้ผ่านการพิจารณาความเหมาะสม

           เรณูนคร และมีการผลิตยาขี้ผึ้งกัญชา เพื่อให้ผู้ป่วยที่  ทางจริยธรรมโดยคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย
           มีอาการปวดกล้ามเนื้อสามารถน�ากลับไปใช้ทาบรรเทา  ในมนุษย์ ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครพนม

           อาการปวดได้ด้วยตนเอง                        หมายเลขรับรอง REC 019/64 ลงวันที่ 30 เดือน
                จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า ยังไม่มีการ  พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
           ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาขี้ผึ้งกัญชา กับ
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98