Page 94 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 94
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 3 Sep-Dec 2023 577
1. วัสดุ ก�าหนดอ�านาจการทดสอบ (power of test) เท่ากับ
1.1 ยาขี้ผึ้งกัญชา (cannabis ointments) 80 ความแปรปรวนร่วม เท่ากับ 1.212 ค�านวณความ
ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ผลิตโดยกลุ่มงานเภสัชกรรม ต่างของผล (Effect Size) ของตัวแปรกลุ่มทดลอง
โรงพยาบาลเรณูนคร จังหวัดนครพนม โดยมีส่วน และกลุ่มเปรียบเทียบ ตามสูตรการค�านวณขนาด
ประกอบหลักคือ น�้ามันกัญชา และส่วนประกอบอื่น ๆ ตัวอย่าง เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
ได้แก่ วาสลีน น�้ามันระก�า เมนทอล พาราฟินชนิดแข็ง กรณี 2 กลุ่มประชากรเป็นอิสระต่อกัน (independent
[15]
ขี้ผึ้ง น�้ามันเปปเปอร์มิ้นต์ น�้ามันยูคาลิปตัส การบูร groups) ของอรุณ จิรวัฒน์กุล (2551) ได้ขนาดกลุ่ม
พิมเสน และลาโนลิน เทใส่ภาชนะบรรจุติดฉลาก “ยา ตัวอย่าง กลุ่มละ 26 คน แต่เพื่อป้องกันการสูญหาย
ขี้ผึ้ง หมายเลข 1’’ ของกลุ่มตัวอย่างระหว่างการทดลอง ผู้วิจัยจึงเพิ่ม
1.2 ยาขี้ผึ้งไพล (Plai ointments) ที่ใช้ใน กลุ่มตัวอย่างเป็น 30 คนต่อกลุ่ม โดยใช้สูตรการ
[15]
การศึกษาครั้งนี้ ผลิตโดยกลุ่มงานเภสัชกรรม โรง ค�านวณของอรุณ จิรวัฒน์กุล (2551) คาดว่าจะมีผู้
พยาบาลเรณูนคร จังหวัดนครพนม โดยมีส่วน สูญหายจากการศึกษาร้อยละ 5 แล้วท�าการคัดเลือก
ประกอบหลักคือ น�้ามันไพล และส่วนประกอบอื่น ๆ กลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์การคัดเข้า คัดออก และการ
ได้แก่ วาสลีน น�้ามันระก�า เมนทอล พาราฟินชนิดแข็ง ให้เลิกจากศึกษา ดังนี้
ขี้ผึ้ง น�้ามันเปปเปอร์มิ้นท์ น�้ามันยูคาลิปตัส การบูร 1.3.1 เกณฑ์การคัดเข้า ได้แก่ อายุ 20 ปีขึ้น
พิมเสน และลาโนลิน เทใส่ภาชนะบรรจุ ติดฉลาก “ยา ไป, เป็นเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเรณูนคร ที่มาใช้บริการ
ขี้ผึ้ง หมายเลข 2’’ ณ คลินิกการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
1.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง และได้รับการตรวจวินิจฉัยว่ามีอาการปวดกล้ามเนื้อ
ประชากร คือ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล คอ บ่า ไหล่ อย่างน้อยกว่า 1 เดือน โดยไม่มีสาเหตุจาก
เรณูนคร อ�าเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ที่มา พยาธิสภาพต่าง ๆ เช่น อาการปวดเกิดจากการกดทับ
รับบริการ ณ คลินิกการแพทย์แผนไทยและการ ของเส้นประสาท, สามารถสื่อสารโดยภาษาไทย และ
แพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลเรณูนคร ในช่วงเดือน ยินยอมเข้าร่วมการศึกษาด้วยความสมัครใจ พร้อม
พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2565 ลงลายมือชื่อในใบยินยอมรับเข้าร่วมการศึกษา
จ�านวน 173 คน 1.3.2 เกณฑ์การคัดออก ได้แก่ เคยได้รับ
กลุ่มตัวอย่าง คือ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล การรักษาด้วยการทายา รับประทานยา การฝังเข็ม การ
เรณูนคร ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แผนไทยว่ามี ท�ากายภาพบ�าบัด ในระยะเวลา 1 เดือน ก่อนเข้าร่วม
อาการปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ จ�านวน 60 คน แบ่ง การศึกษาหรือระหว่างการด�าเนินการศึกษา, ได้รับการ
ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มตัวอย่าง ผ่าตัดจากโรคกระดูกต้นคอเสื่อม โรคกระดูกทับเส้น
ที่ได้รับยาขี้ผึ้งกัญชา จ�านวน 30 คน และกลุ่มเปรียบ ประสาท และโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ใน
เทียบ คือ กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับยาขี้ผึ้งไพล จ�านวน 30 ช่วงระยะเวลา 6 เดือน ก่อนเข้าร่วมการศึกษา, มีแผล
คน การค�านวณขนาดตัวอย่างในการศึกษานี้ อ้างอิง เปิดหรือรอยโรคผิวหนัง บริเวณคอ บ่า ไหล่ ข้างเดียว
จากการศึกษาของอ�าพล บุญเพียร และคณะ (2562) [14] หรือทั้ง 2 ข้าง, มีประวัติการแพ้กัญชาหรือไพล, หญิง