Page 95 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 95

578 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร                      ปวดแบบตัวเลข (numeric rating scale; NRS)
                   1.3.3 เกณฑ์การให้เลิกจากการศึกษา    คะแนน 0 ถึง 10 โดยให้ผู้เข้าร่วมวิจัยท�าเครื่องหมาย

           ได้แก่ ผู้เข้าร่วมวิจัยขอถอนตัวระหว่างการทดลอง, ไม่  กากบาท (X) บนตัวเลข ต�าแหน่งปลายสุดทางซ้าย
           สามารถทนผลข้างเคียงหรือมีอาการแพ้อย่างรุนแรง  มือ คือหมายเลข 0 หมายถึง ไม่มีอาการปวดและเพิ่ม
           ระหว่างการทดลอง, ได้รับการรักษาหรือบรรเทาอาการ  มากขึ้นไปทางขวามือตามคะแนนของตัวเลข ต�าแหน่ง

           ด้วยวิธีอื่นระหว่างการทดลอง, ไม่สามารถปฏิบัติ  ปลายสุด
           ตามข้อตกลงของการศึกษา, ไม่สามารถติดต่อได้ใน        นอกจากแบบเก็บข้อมูล 3 ส่วนข้างต้น
           ระหว่างการศึกษา                             ในการศึกษานี้ยังมีสมุดบันทึกกิจกรรม ส�าหรับผู้

                1.4  เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล   เข้าร่วมวิจัย ไว้ส�าหรับบันทึกกิจกรรมในระหว่าง
                   แบบเก็บข้อมูลในการศึกษานี้ ท�าการ   อยู่ในโครงการวิจัยทุกวัน ประกอบด้วย 1) ข้อมูล
           ปรับปรุงแก้ไขมาจาก การศึกษาเปรียบเทียบ      ยา ประกอบด้วย สรรพคุณ, ขนาดยาและวิธีใช้, ค�า

           ประสิทธิผลของยาสหัศธารากับยาเม็ดไดโคลฟีแนค  เตือนและข้อควรระวัง, ขนาดบรรจุ และสถานที่ผลิต
           ในการลดอาการปวดกล้ามเนื้อของปรีชา หนูทิม    2) แบบบันทึกระดับคะแนนอาการปวด, อาการไม่พึง

                [16]
           (2555)  และผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา   ประสงค์ และการบรรเทาอาการปวดด้วยวิธีอื่น ๆ 3)
           (content validity) และความเที่ยงของเครื่องมือวิจัย   บุคคลติดต่อหากผู้เข้าร่วมวิจัยมีค�าถามระหว่างอยู่ใน
           (reliability) ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่      การศึกษา

                   ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ได้แก่
           เพศ, อายุ, ดัชนีมวลกาย, สถานภาพสมรส และระดับ  2. วิธีก�รศึกษ�

           การศึกษา                                        2.1  ขั้นตอนการศึกษา
                   ส่วนที่ 2 แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับโรค        2.1.1 การเสนอโครงร่างการวิจัยต่อคณะ
           และอาการเจ็บป่วย ได้แก่ ลักษณะของการท�างาน,   กรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในมนุษย์

           ระยะเวลาใช้คอมพิวเตอร์, ระยะเวลาใช้มือถือสมาร์ท        2.1.2 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ตามเกณฑ์การ
           โฟน, ระยะเวลาที่มีอาการปวด, ต�าแหน่งของอาการ  คัดเข้าและคัดออกที่ก�าหนดไว้ และชี้แจงวัตถุประสงค์
           ปวด, ข้างที่มีอาการปวด, ประวัติการได้รับอุบัติเหตุ  ของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขั้นตอนการ

           บริเวณกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่, ประวัติการได้รับการ  ทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล รวมถึงแจ้งสิทธิ์ในการ
           รักษาอาการปวด, ประวัติการได้รับการผ่าตัด, การ  ถอนตัวออกจากการศึกษา พร้อมแจ้งว่าข้อมูลดังกล่าว
           มีแผลเปิดหรือรอยโรคผิวหนัง บริเวณคอ บ่า ไหล่,   จะถูกเก็บรักษาเป็นความลับและน�ามาใช้ในการศึกษา

           ประวัติการแพ้กัญชาหรือไพล และประวัติการใช้  เท่านั้น โดยน�าเสนอข้อมูลเป็นภาพรวม และให้ผู้เข้า
           สมุนไพรในการรักษาอาการปวด                   ร่วมวิจัยลงนามในเอกสารแสดงความยินยอมในการ

                   ส่วนที่ 3 ข้อมูลประสิทธิผลของยาขี้ผึ้ง  เข้าร่วม
           แต่ละตัวที่ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับ ท�าการประเมินผลโดย        2.1.3 สุ่มกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้วิธีการจับ
           การวัดระดับอาการปวดกล้ามเนื้อด้วยมาตรวัดความ  ฉลากแบบไม่ใส่คืน โดยท�าฉลากจ�านวน 60 ฉลาก
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100