Page 101 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 101
584 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
ระยะเวลานาน สามารถเข้าถึงตัวผลิตภัณฑ์ได้หลาย ทายาขี้ผึ้ง 30 นาที หลังอาบน�้าตอนเย็น กล่าวคือ ไม่ใช่
ช่องทาง และผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจ ช่วงเวลาเร่งรีบไปท�างาน ผู้เข้าร่วมวิจัยสามารถทายาขี้
ต่อการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากไพล ส่วนกัญชา ผึ้งได้ถูกต้องตามวิธีการใช้ แต่การทายาขี้ผึ้งในช่วงเช้า
เป็นสมุนไพรที่ทางกระทรวงสาธารณสุขปลดออกจาก เป็นช่วงเวลาเร่งรีบไปท�างาน อาจท�าให้ทายาขี้ผึ้งไม่ถูก
บัญชียาเสพติด โดยในระยะแรกมุ่งเน้นให้ประชาชน ต้อง ทายาตามวิธีเดิมหรือประสบการณ์เดิมที่เคยใช้
เข้าถึงยากัญชาทางการแพทย์ [อิทธิพลความใหม่ของ ท�าให้อาจส่งผลต่อประสิทธิผลของยาขี้ผึ้งกัญชาและ
สิ่งทดลองหรือปรากฏการณ์เทคโนโลยีใหม่ (novelty ไพลในการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อได้
effect)] [17]
2) กลิ่นเฉพาะตัวของสมุนไพรอาจไม่สามารถ ข้อสรุป
ปกปิดว่ากลุ่มตัวอย่างอยู่ในกลุ่มทดลอง (ได้รับยาขี้ ยาขี้ผึ้งกัญชามีประสิทธิผลในการลดระดับ
ผึ้งกัญชา) หรือกลุ่มควบคุม (ได้รับยาขี้ผึ้งไพล) กล่าว อาการปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ได้ โดยไพลให้ผล
คือ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีประสบการณ์การใช้ยา ในการักษาความปวดเร็วกว่า และไม่มีรายงานอาการ
สมุนไพรบรรเทาอาการปวดในรูปแบบยาใช้ภายนอก ไม่พึงประสงค์ ดังนั้น ยาขี้ผึ้งกัญชาจึงเป็นยาสมุนไพร
เช่น ยาครีม ยาขี้ผึ้ง ท�าให้กลุ่มตัวอย่างอาจจดจ�ากลิ่น ส�าหรับใช้ภายนอกทางเลือกหนึ่งส�าหรับบรรเทาอาการ
เฉพาะตัวของสมุนไพรและทราบว่าตนเองอยู่ในกลุ่ม ปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ อย่างไรก็ดี เนื่องจากจ�านวน
ใด ผู้เข้าร่วมวิจัยในครั้งนี้มีจ�านวนน้อย ควรมีการศึกษาที่
3) ความเหมาะสมของมาตรวัดความปวด จาก มีขนาดของตัวอย่างมากขึ้น เพื่อเพิ่มความแม่นย�าใน
การศึกษาก่อนหน้า นิยมใช้มาตรวัดความปวดแบบ การรายงานผลให้เด่นชัด และมีความน่าเชื่อถือเพิ่มขึ้น
visual analogue scale (VAS) และ numeric rating
scale (NRS) [17-19] ยังไม่มีการศึกษาชัดเจนถึงความ ข้อจำ�กัดในก�รศึกษ�
เหมาะสมของมาตรวัดความปวดในการวัดผล ในการ 1. ไม่มีความหลากหลายของลักษณะกลุ่ม
ศึกษานี้เลือกใช้มาตรวัดความปวดแบบ NRS มีข้อดี ตัวอย่าง กล่าวคือ เก็บข้อมูลเฉพาะกลุ่มเจ้าหน้าที่โรง
คือ สามารถประเมินและเข้าใจ ได้ง่าย และใช้เวลาใน พยาบาลเรณูนคร จังหวัดนครพนม ที่มีอาการอาการ
การประเมินน้อย ส่วนข้อเสีย คือ ความละเอียดใน ปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่
การประเมินความปวด กล่าวคือ ผู้เข้าร่วมวิจัยอาจใช้ 2. การประเมินประสิทธิผลของการศึกษานี้ ไม่
เลข 5 เป็นตัวแบ่งมาตรวัดความปวดน้อย-มาก หาก ได้ท�าการประเมินด้านองศาการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ
ปวดปานกลาง ไม่น้อย/มาก จะท�าการประเมินเท่ากับ ความทนต่อแรงกดเจ็บของกล้ามเนื้อ ความพึงพอใจ
5 หากปวดน้อยจะท�าการประเมินในช่วง 0-4 และหาก ของผู้เข้าร่วมวิจัย และคุณภาพชีวิต อาจเป็นผลลัพธ์
ปวดมากจะท�าการประเมินในช่วง 6-10 ที่ส�าคัญในการประเมินประสิทธิผลในการรักษาอาการ
4) กลุ่มตัวอย่างทราบว่าตัวเองก�าลังถูกผู้วิจัย ปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ ได้
ท�าการวัดผล [17-18] กล่าวคือ ในการศึกษานี้จะให้ผู้เข้า 3. ในการศึกษานี้ไม่สามารถควบคุมการท�า
ร่วมวิจัยท�าการประเมินคะแนนระดับอาการปวด หลัง กิจกรรมต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมวิจัยแต่ละคนให้เหมือน