Page 106 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 106

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  589




                     บทนำ�และวัตถุประสงค์               ส่วนปลาย จะเจริญได้ดีในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มี
                 เท้าที่มีเชื้อแบคทีเรียสะสมจ�านวนมากจะก่อ  ออกซิเจน บางสายพันธุ์มีโคโลนีสีเหลืองน�้าตาล และ

            ให้เกิดอาการเท้าลอก อับชื้น จนเกิดความร�าคาญ   สามารถสร้างสารเมือก (slime) ซึ่งมีคุณสมบัติช่วย
                                                                                              [9]
            นอกจากนี้ยังส่งผลท�าให้เกิดปัญหากลิ่นเท้าได้สูงถึง   ให้เชื้อเกาะติดกับผิวหนังและเยื่อบุภายในร่างกาย
            90% รองลงมาคือถุงเท้าติดฝ่าเท้า 70% และอาการ  เมื่อเหงื่อบริเวณเท้ารวมกับเชื้อแบคทีเรีย จะผลิต

                        [1]
            คันพบได้ 10%   ซึ่งเป็นลักษณะของโรค เท้ามีกลิ่น  เอนไซม์ในการสลายตัวและเผาผลาญสารอาหารที่มี
            เหม็น (pitted keratolysis) พบได้บ่อยในผู้ที่มีเหงื่อ  อยู่ในเหงื่อ โดยปล่อยสารอินทรีย์ออกมาสู่ผิวหนังจึง

            ออกบริเวณฝ่าเท้า เช่นกลุ่มผู้ที่มีน�้าหนักตัวมาก ผู้ป่วย  ท�าให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ [8]
            เบาหวาน หญิงตั้งครรภ์ และวัยรุ่นมีแนวโน้มที่จะมี     วิธีการก�าจัดกลิ่นเท้านั้นมีหลายรูปแบบ ได้แก่
            ฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง จึงมีเหงื่อออกมากขึ้นส่งผลให้  การใช้ผลิตภัณฑ์ก�าจัดกลิ่นเท้า ซึ่งผลิตภัณฑ์ส่วน

            เท้าเหม็นได้ อีกทั้งน�ามาสู่ปัญหาในการใช้ชีวิตประจ�า  มากมักจะมีสารเคมีเป็นส่วนประกอบในการผลิต
            วันและการเข้าสังคมเพราะท�าให้บุคลิกภาพของบุคคล  และมีวิธีการใช้แตกต่างกันไป เช่น การทาผงแป้งดับ

            นั้นแย่ลงและสูญเสียความมั่นใจ ปัญหาของกลิ่นเท้า  กลิ่นเท้า การแช่เท้า และการฉีดพ่นสเปรย์ดับกลิ่นเท้า
            นอกจาก จะส่งผลกระทบต่อตนเองโดยตรง ยังส่ง    เป็นต้น พบว่าการใช้สารเคมีเหล่านี้สามารถเห็นผล
                                      [2-3]
            ผลกระทบต่อคนรอบข้างอีกด้วย   โรคเท้าเหม็น   ได้อย่างรวดเร็ว ใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก แต่มีผลกระทบ
            เป็นปัญหาที่พบได้ทั่วโลกทั้งในกลุ่มคนวัยท�างาน และ  ตามมา คือ มีสารเคมีตกค้างผิวหนังบริเวณเท้า ซึ่ง
            วัยเรียน โดยมีช่วงอายุเฉลี่ย 10-40 ปี พบได้สูงถึง   ท�าให้บางคนเกิดอาการคัน หรืออาการแพ้บริเวณ
            80-96%  จากการส�ารวจปัญหากลิ่นเท้าของนักเรียน  ผิวหนัง [10]
                   [4]
            ระดับชั้นมัธยมตอนปลายโรงเรียนในเขตอ�าเภอ         การใช้สมุนไพรในการแก้ไขปัญหาของกลิ่นเท้า
            ไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี พบว่า มีปัญหากลิ่นเท้าถึง  จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง เนื่องจากสมุนไพรมีความ
            ร้อยละ 52.2 ซึ่งอยู่ในวัยรุ่นตอนปลายช่วงอายุ 16-19   ปลอดภัยก่อให้เกิดอาการข้างเคียง หรือการดื้อยาน้อย

                                                                   [11]
            ปี เป็นวัยที่พบปริมาณเหงื่อและกลิ่นเท้ามากกว่าวัยอื่น   กว่ายาปฏิชีวนะ  โดยสมุนไพรที่การศึกษานี้สนใจคือ
            ๆ มีการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนต่าง ๆ โดย  ใบพลู (Piper betle L.) จัดอยู่ในวงศ์ Piperaceae มี

            เฉพาะต่อมไขมันใต้ผิวหนังและต่อมเหงื่อจะท�างาน  กลิ่นหอมเฉพาะตัว ประกอบด้วยสารกลุ่ม phenolic
            ได้มีประสิทธิภาพมาก  ต่อมเหงื่อจะกระจายอยู่ทั่ว  compound เช่น eugenol, chavicol และ isoeuge-
                             [5]
            ร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณมือและเท้า  ซึ่งเหงื่อเป็น  nol ซึ่งท�าให้ชา ช่วยลดอาการคัน ขับลมในล�าไส้ แก้
                                         [6]
                                                 [7]
                                                                               [12]
            ตัวการหลักที่ท�าให้เชื้อแบคทีเรียเจริญเติบโตได้ดี     อักเสบจากแมลงสัตว์กัดต่อย  และมีรายงานการ
                 เชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus epider-  ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียสกุล Staphylococcus aureus,
            midis เป็นเชื้อประจ�าถิ่นของผิวหนัง เป็นสาเหตุ  Trichophyton mentagrophytes, Trichophyton
            ก่อให้เกิดกลิ่นเท้าได้มากถึง 86%  จัดอยู่ในกลุ่ม   rubrum และ Bacillus ที่เป็นเชื้อก่อโรคทางผิวหนัง
                                       [8]
            coagulase-negative staphylococci สามารถพบ   และเจริญในเท้าได้ [13-14]  การศึกษานี้จึงน�าสารสกัดใบ

            ได้ตามผิวหนัง โพรงจมูก รูหูและทางเดินปัสสาวะ  พลูมาศึกษาฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย S. epidermi-
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111