Page 107 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 107
590 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
dis และพัฒนาผลิตภัณฑ์สครับบอลซึ่งเป็นรูปแบบ ให้แห้ง จ�านวน 200 กรัม น�าเข้าอบที่อุณหภูมิ 40˚ซ
ผลิตภัณฑ์ท�าความสะอาดชะล้างสิ่งสกปรก สครับ เป็นเวลา 24 ชั่วโมงจนแห้งสนิท จากนั้นน�ามาตัดเป็น
ผลัดเซลล์ผิว มีลักษณะเป็นก้อนทรงกลม ประกอบ ชิ้นเล็ก ๆ แช่ใน 95% ethyl alcohol ในอัตราส่วน
ไปด้วย transparent glycerin soap base, poly- 1:10 ในภาชนะปิดสนิททิ้งไว้ 7 วัน จากนั้นน�ามากรอง
ethylene glycol, coconut oil และ luffa scrub (filtration) เอาแต่ส่วนน�้า น�าไประเหยเอาตัวท�าละลาย
เป็นต้น น�ามาผสมสารสกัดใบพลูเพื่อช่วยลดกลิ่นเท้า ออกโดยใช้เครื่องระเหยแบบหมุน (rotary vacuum
ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขต evaporator) แล้วน�าไปค�านวณหาร้อยละของสารสกัด
อ�าเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี ซึ่งผลการศึกษานี้จะ ที่ได้จากสูตรการหา %yield crude extract
เป็นข้อมูลพื้นฐานส�าหรับการพัฒนาต่อยอดสมุนไพร 1.1.2 น�าสารสกัดหยาบใบพลู มาทดสอบ
ในการน�ามาเป็นผลิตภัณฑ์ลดกลิ่นเท้าต่อไป ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อ S. epidermidis ATCC 12228
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบฤทธิ์ ด้วยวิธี disc diffusion เตรียมโดยชั่งสารสกัด 6 mg
ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย S. epidermidis ของสารสกัด ละลายในเอทานอล 1 ml เป็นความเข้มข้นเริ่มต้น จาก
ใบพลู, พัฒนาผลิตภัณฑ์สครับบอลลดกลิ่นเท้าจาก นั้นปรับความเข้มข้นให้มีระดับความเข้มข้นที่ 6,000
สารสกัดใบพลู และศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้ 5,500, 5,000, 4,500, 4,000 และ 3,500 µg/ml และ
ผลิตภัณฑ์สครับบอลลดกลิ่นเท้าจากสารสกัดใบพลู มี Ampicillin (10 µg/disc) เป็น positive control
ในอาสาสมัครสุขภาพดี และหาค่าความเข้มข้นต�่าสุดของสารสกัดสมุนไพร ที่
สามารถยับยั้งเชื้อได้ (minimal inhibitory concen-
ระเบียบวิธีศึกษ� tration: MIC) ด้วยวิธี Micro Broth dilution โดย
รูปแบบการวิจัยและพัฒนา (research and ใช้อาหารเหลว Mueller Hinton Broth เลี้ยงเชื้อที่
development : R&D) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สครับ ความเข้มข้น เท่ากับ 10 cell/ml ใช้สารสกัดที่มีความ
5
บอลจากสารสกัดใบพลูส�าหรับลดกลิ่นเท้า เข้มข้นตั้งแต่ 3,000-11.71 µg/ml ปรับด้วย 2-fold
dilution น�าไปบ่มที่ 37˚ซ เวลา 16-18 ชั่วโมง สังเกต
1. วิธีก�รศึกษ� หากไม่เกิดการเจริญของเชื้อที่ความเข้มข้นใดจะ
1.1 ขั้นตอนการทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ ก�าหนดเป็นค่า MIC และน�ามาหาค่าความเข้มข้นต�่า
1.1.1 การเตรียมสารสกัดหยาบใบพลู สุดของสารสกัดสมุนไพร ที่สามารถฆ่าเชื้อได้ (mini-
ท�าการเก็บตัวอย่างจากสวนสมุนไพรของวิทยาลัย mal bactericidal concentration: MBC) ด้วยวิธี
เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนา spot test โดยการน�าอาหารเหลวที่แสดงค่า MIC มา
ภิเษก อ�าเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี ซึ่งได้รับการ ตรวจสอบการเจริญของเชื้อบนอาหารวุ้น (Mueller-
ยืนยันชนิดจากแพทย์แผนไทยที่เชี่ยวชาญด้าน Hinton agar) ความเข้มข้นใดที่ท�าให้จ�านวนจุลินทรีย์
[15]
เภสัชกรรมไทย และเทียบเคียงตามฐานข้อมูล Thai ลดลง 99.9% จากเชื้อเริ่มต้นคือค่า MBC
herbal pharmacopoeia น�ามาท�าความสะอาด ผึ่ง