Page 110 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 110

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  593




            โดยสอบถามเกี่ยวกับเพศ อายุ ระดับชั้นมัธยมศึกษา  โดยใช้สูตรการหา %yield crude extract
            ที่ก�าลังศึกษา จ�านวน 3 ข้อ และตอนที่ 2 แบบสอบถาม         1.6.2 การวิเคราะห์ข้อมูลในการทดสอบ

            ความพึงพอใจ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (rat-  ฤทธิ์ต้านเชื้อ โดยหาค่าเฉลี่ย (x) และส่วนเบี่ยงเบน
            ing scale) 5 ระดับ โดยมากที่สุดเท่ากับ 5 คะแนน   มาตรฐาน (S.D.) ของผลการทดลอง 3 ครั้ง

            มากเท่ากับ 4 คะแนน ปานกลางเท่ากับ 3 คะแนน           1.6.3 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลที่ได้
            น้อยเท่ากับ 2 คะแนน และน้อยที่สุดเท่ากับ 1 คะแนน   จากแบบประเมินความพึงพอใจ ของกลุ่มตัวอย่างต่อ

            ประกอบด้วยการประเมิน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านลักษณะ  การใช้ผลิตภัณฑ์ โดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่า
            ทั่วไปของผลิตภัณฑ์ จ�านวน 4 ข้อ ด้านการใช้งาน   เฉลี่ย (x) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

            จ�านวน 3 ข้อ และด้านบรรจุภัณฑ์ จ�านวน 2 ข้อ รวม
            ทั้งหมด จ�านวน 9 ข้อ น�ามาให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ         ผลก�รศึกษ�

            หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item – Objec-  1. ผลก�รทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ
            tive หรือ IOC) ซึ่งทุกข้อมีค่า IOC เท่ากับ 1.0 และน�า
                                                             จากการสกัดสารจากใบพลู น�้าหนัก 200 กรัม
            ไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับ
                                                        มาสกัดโดยหมักด้วยวิธี maceration ด้วยตัวท�า
            กลุ่มตัวอย่างที่ท�าการศึกษาในครั้งนี้ และน�ามาหาค่า
                                                        ละลายเอทานอล 95% มีลักษณะเหนียวหนืด สี
            ความเที่ยงซึ่งได้ค่าเท่ากับ 0.88            เขียวเข้ม แกมด�า ค�านวณปริมาณสารสกัดหยาบได้
                 1.5  การทดลองใช้ผลิตภัณฑ์
                                                        6.585% หลังจากนั้นน�าสารสกัดไปศึกษาฤทธิ์ต้าน
                    น�าผลิตภัณฑ์สครับบอลลดกลิ่นเท้าจากใบ
                                                        เชื้อ S. epidermidis ด้วยวิธี disc diffusion ไม่พบ
            พลู ไปทดลองใช้ ในตัวอย่างที่คัดเลือกแบบเจาะจง
                                                        โซนการยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. epidermidis ใน
            (purposive sampling) จ�านวน 40 คน เพื่อน�าผลิต
                                                        การทดลองทั้ง 3 ครั้ง ในขณะที่ Ampicillin แสดง
            ภัณฑ์สครับบอลสมุนไพรที่พัฒนาขึ้นให้กลุ่มตัวอย่าง
                                                        โซนยับยั้ง 29.16 มิลลิเมตร ดังนั้นจึงน�าสารสกัด
            น�าไปทดสอบที่บ้าน (home-use test) ชี้แจงวิธีการใช้
                                                        ใบพลูมาทดสอบด้วย วิธี broth microdilution ที่
            งานให้น�าก้อนสครับบดผสมกับน�้าเป็นฟองยืดและ
                                                        ระดับความเข้มข้น 3,000, 1,500, 750, 375, 187.50,
            ถูเบา ๆ เป็นวงกลมบริเวณฝ่าเท้า วันละ 1 ครั้ง และ
                                                        93.75, 46.87, 23.44 และ 11.72 µg/ml พบว่า มี
            ประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ผลิตภัณฑ์สครับบอล
                                                        ค่าความเข้มข้นต�่าสุดที่สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย
            สมุนไพรลดกลิ่นเท้า แบ่งเป็นรายด้าน 3 ด้าน ได้แก่
                                                        เท่ากับ 375 µg/ml (Figure 1) และน�าสารสกัดใบ
            ด้านลักษณะทั่วไปของผลิตภัณฑ์ ด้านการใช้งาน และ
                                                        พลูมาทดสอบด้วย วิธี spot test พบว่า มีฤทธิ์ในการ
            ด้านบรรจุภัณฑ์                              ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย S. epidermidis เท่ากับ 1,500 µg/
                 1.6  การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
                                                        ml (Figure 2)
                    1.6.1 การค�านวณหาร้อยละของสารสกัด
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115