Page 114 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 114
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 3 Sep-Dec 2023 597
ที่พบว่าสารสกัดใบพลูแห้งด้วยเอทานอลและน�้ามัน luffa scrub เป็นต้น มีลักษณะเป็นก้อนคล้ายลูกบอล
พลูจากการกลั่น มีค่า MIC และ MBC ของเชื้อ สีเขียวอ่อน ขนาด 15 กรัม มีกลิ่นน�้านมข้าว บรรจุ
S.epidermidis คือ 16 และ 256 µg/ml ตามล�าดับ [14] ภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ มีลักษณะเป็นซองพลาสติกสีขาว
และผลที่ไม่พบโซนยับยั้งเชื้อแต่แสดงค่า MIC และ พร้อมติดฉลาก เมื่อน�ามาทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อ S. epi-
MBC อาจเกิดจากวิธีการของ MIC และ MBC dermidis ด้วยวิธี disc diffusion พบโซนยับยั้งเชื้อมี
เป็นการผสมเชื้อแบคทีเรียกับสารสกัดโดยตรง ท�าให้ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ x = 2.55 ± 0.85 อธิบายได้ว่าเนื่องจาก
ได้ผลที่มีประสิทธิภาพมากกว่า agar disc-diffusion ส่วนผสมของเบสสครับบอลที่ไม่มีสารสกัด ประกอบ
ซึ่งใช้หลักการแพร่ของสารในอาหารเลี้ยงเชื้อ ความ ไปด้วย glydant ซึ่งเป็นสารกันเสีย ที่มีคุณสมบัติ
เข้มข้นของสารทดสอบจะลดลงตามระยะทางท�าให้ antimicrobial formaldehyde จึงท�าให้สามารถ
[19]
เกิดความแตกต่างของความเข้มข้นของสารทดสอบ ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้ และส�าหรับผลิตภัณฑ์สครับ
ซึ่งความไวต่อเชื้อขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ขนาด บอลสมุนไพรที่มีสารสกัดสมุนไพรร้อยละ 0.15 ของ
โมเลกุลของสารสกัด ความสามารถในการละลาย หรือ ผลิตภัณฑ์ พบโซนยับยั้งเชื้อมีค่าเฉลี่ย inhibition
แพร่ผ่านไปในอาหารเลี้ยงเชื้อ เป็นต้น ทั้งนี้ยังเป็นวิธี zone เท่ากับ x = 6.88 ± 0.26 ซึ่งมากกว่าสารสกัด
การทดสอบที่รวดเร็ว ง่าย ประหยัด และตรงกับรูป ที่ยังไม่ได้พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ในระดับความเข้มข้น
แบบการใช้งานจริงคือการสครับผิวให้สารสกัดซึม เดียวกัน และมากกว่าผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้ใส่สารสกัด
[17]
ผ่านผิวหนังอีกด้วย สอดคล้องกับ การศึกษาฤทธิ์ ซึ่งเกิดจากส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ประกอบไป
ต้านแบคทีเรียกลุ่ม Staphylococci ของสารสกัดจาก ด้วย polyethylene glycol ซึ่งมีคุณสมบัติช่วยในการ
สมุนไพรท้องถิ่นบางชนิดในจังหวัดนครราชสีมา ผล ละลาย จึงสามารถเพิ่มการแทรกผ่านของสารออกฤทธิ์
การทดสอบฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย กลุ่ม Staphylococci ได้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้สารสกัดออกฤทธิ์บนพื้น
[20]
ของสารสกัดทั้งหมด 58 ชนิด ด้วยวิธี disc diffusion ผิวได้นานขึ้นอีกด้วย จึงท�าให้สารส�าคัญออกฤทธิ์
พบว่า สารสกัดจาก Abutilon indicum (ครอบฟันสี), ไปยับยั้งเชื้อได้ดียิ่งขึ้น สอดคล้องกับการศึกษาของ
Aegle marmelos (มะตูม), Asparagus racemosus ณฐมน ดอกบัวแก้ว และสมฤทัย จิตภักดีบดินทร์
[21]
(รากสามสิบ) และ Cerbera odollam (ตีนเป็ดน�้า) ไม่ ได้ศึกษาการประเมินผลของสเปรย์ดับกลิ่นเท้าที่มี
ปรากฏฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจากการทดสอบด้วยวิธี disc สารสกัดของใบพลู พบว่าสกัดสารจากใบพลูด้วย
diffusion แต่แสดงค่า MIC และ ค่า MBC ดังนั้น เอทานอล 95% โดยใช้ความเข้มข้นของสารสกัดต�่า
[18]
ในการศึกษาฤทธิ์ยับยั้งเชื้อหากไม่แสดงผลด้วยวิธี ที่สุดสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เท่ากับ 1 g/mL เกิด
disc diffusion ควรท�าการยืนยันผลการทดลองด้วย บริเวณยับยั้งขนาด 14.77 ± 0.21 mm. ซึ่งเมื่อกลุ่ม
วิธี micro broth dilution ตัวอย่างได้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์สครับบอลสมุนไพร
ผลิตภัณฑ์สครับบอลสมุนไพรลดกลิ่นเท้า จาก ลดกลิ่นเท้า พบว่า มีความพึงพอใจผลิตภัณฑ์สครับ
สารสกัดจากใบพลู น�ามาพัฒนาโดยมีส่วนประกอบ บอลสมุนไพรลดกลิ่นเท้าในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ของ soap base, glycerin, snail resin, coconut oil, โดยสครับบอลเป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยในการท�าความ