Page 119 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 119
602 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
business for sale in hospitals.
Conclusion and recommendation: Kang Liang is a healthy food that promotes vegetable consumption.
Further studies should be conducted to determine the shelf life and nutritional values of the product, develop another
ready-to-cook curry paste for cooking healthy dishes for various groups of patients, revitalize other healthy food/
dishes based on Thai wisdom such as Kaeng Pa and Kaeng Som, and conduct trials on healthy food business and
services in the hospital canteen.
Key words: ready to cook Kaeng Liang curry paste, food business
บทนำ�และวัตถุประสงค์ หลน เป็นต้น อาหารใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น ปรุงให้เข้า
การศึกษาอัตราการบริโภคผักผลไม้ของคนไทย กับภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ประสบการณ์ท�าอาหารที่
ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่าเพียงร้อยละ 25.9 ที่บริโภค สั่งสมมายาวนาน สืบทอดเป็นภูมิปัญญาไทย แม้ว่า
ผักผลไม้ปริมาณต่อวันเพียงพอ ดังนั้นยังมีประชาชน ในอดีตคนไทยไม่มีความรู้ด้านวิทยาการอาหาร แต่
ร้อยละ 74.1 ที่บริโภคผักผลไม้ต่อวันปริมาณน้อย มีความรู้เรื่องคุณค่าของวัตถุดิบที่ใช้ท�ากับข้าว โดย
กว่าเกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกก�าหนดให้บริโภค เฉพาะพืชผักในท้องถิ่นและสมุนไพรที่อุดมสมบูรณ์
ผักผลไม้วันละ 400-500 กรัมเพื่อการสร้างสุขภาพ มีประโยชน์ในการป้องกันหรือรักษาโรคต่าง ๆ การ
และป้องกันโรค สาเหตุหนึ่งเนื่องจากวิถีชีวิตที่เร่งรีบ เรียนรู้ภูมิปัญญาไทยเรื่องอาหาร พบว่าอาหารไทย
[1]
ท�าให้ต้องพึ่งอาหารส�าเร็จรูปหรืออาหารจากตลาด ดั้งเดิมนอกจากมีคุณค่าทางโภชนาการ ยังมีคุณค่า
[2]
ผลการศึกษายังพบว่าทุกช่วงวัยบริโภคผักผลไม้ ตามธรรมชาติ คือ “อาหารเป็นยา’’ เช่น แกงเลียง
ปริมาณน้อย เช่น อายุ 30-44 ปี ต�่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ แกงโบราณเก่าแก่ อุดมด้วยพืชผักสมุนไพรหลายชนิด
35.3, อายุ 45-59 ปี ต�่ากว่าเกณฑ์ ร้อยละ 43.6 และ ช่วยในการปรับธาตุ ขับลม ผักที่ใช้ยังให้ประโยชน์ต่าง
60 ปีขึ้นไป ต�่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 38.7 [3] กันตามฤดูกาล แกงเลียงจึงมีเอกลักษณ์ของสรรพคุณ
ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ [4] ทางยา ช่วยให้สุขภาพเป็นปกติหรือปรับให้ดีขึ้น [6]
ตั้งเป้าหมาย เพิ่มการกินผักและผลไม้ของคนไทย คนไทยปรุงอาหารประจ�าวัน ในอดีตใช้วัตถุดิบ
ให้ถึง 400 กรัม มากกว่าร้อยละ 50 ของประชากร และเครื่องปรุงจากหลายแหล่ง ทั้งจากธรรมชาติและ
ทั้งหมด โดยมีการรณรงค์ให้ประชากรบริโภคผักผล สภาพแวดล้อมในท้องถิ่น เช่น เก็บของป่า ล่าสัตว์
ไม้อย่างเพียงพอ ร่วมกับลดภาวะน�้าหนักเกินที่ส่ง จับสัตว์น�้า การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์หรือการซื้อขาย
ผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การกินผักผลไม้ แลกเปลี่ยน วิธีปรุงอาหาร รสชาติมีความเฉพาะถิ่น
จึงส�าคัญต่อการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุน แตกต่างกันไป แต่ทุกภูมิภาคส�ารับอาหารประกอบ
มนุษย์ให้คนไทยมีสุขภาวะ และเป็นทรัพยากรมนุษย์ ด้วยผักพื้นบ้านและน�้าพริกในท้องถิ่นเป็นหลัก ปี
ที่มีศักยภาพ [5] พ.ศ. 2564 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ในอดีตคนไทยกินข้าว ปลา พืชผักผลไม้ ผสม ทางเลือก ฟื้นฟูภูมิปัญญาอาหารไทย แนะน�าอาหาร
[7]
ผสานอย่างพอดี เชื่อมโยงกับฤดูกาลและลักษณะท้อง ไทย 4 ชนิด แกงเลียง แกงป่า แกงส้มและน�้าพริก เป็น
ถิ่น ปรุงอาหารแบบง่าย ๆ เช่น แกง ต้ม น�้าพริกและ อาหารสุขภาพเพราะใช้สมุนไพรเป็นเครื่องปรุง เช่น