Page 122 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 122

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  605




            2. ประช�กรและกลุ่มตัวอย่�ง                  ประวัติการแพ้สมุนไพร
                 ประชากร คือ บุคคลทั่วไปที่ไม่ทราบจ�านวน       2)  รับรู้สารสนเทศ การศึกษาพัฒนาเครื่อง

            ประชากรทั้งหมด การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะ  แกงเลียงพร้อมปรุง แกงเลียงผัก 5 สี ทดลองบริโภค
            เป็น (nonprobability sampling) ประชากรมีโอกาส  แกงเลียง 1 ถ้วยขนาด 350 กรัม สามารถตอบค�าถาม
            ถูกสุ่มมาเป็นกลุ่มตัวอย่างไม่เท่าเทียมกัน ต้องการผู้ให้  การสัมภาษณ์และแบบสอบถามได้

            ข้อมูลส�าคัญ เป็นกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก โดยพิจารณา     เกณฑ์การยุติเข้าร่วมโครงการวิจัย
            จากคุณสมบัติ ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์            1)  ไม่ชอบรสชาติแกงเลียง ขอไม่เข้าร่วม
                                                  [16]
            การศึกษา ดังนี้                             การทดลองบริโภค

                 2.1  กลุ่มตัวอย่างที่ 1  เป็นแม่ครัวจากจังหวัด       2)  ไม่สามารถสื่อสารค�าตอบหรือตอบ
            ราชบุรี จังหวัดพะเยา จังหวัดสงขลาและจังหวัด  แบบสอบถาม
            อุดรธานี 4 คน เลือกโดยเจ้าหน้าที่หรือพยาบาล

            วิชาชีพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล 1 แห่ง มี  3. เครื่องมือที่ใช้ในก�รวิจัย
            คุณสมบัติเป็นบุคคลที่ท้องถิ่นยอมรับในฐานะแม่ครัว      เครื่องมือการศึกษา แบ่งตามขั้นตอนการศึกษา

            ช่วยงานวัดหรืองานบุญของเพื่อนบ้านสม�่าเสมอ อายุ  ดังนี้
            เกิน 50 ปี สามารถร่วมสนทนาแบบการพบหน้าหรือ       3.1  กรอบการสนทนาเล่าเรื่อง กับแม่ครัวท้อง
            ออนไลน์ เล่าเรื่องอาหาร ภูมิปัญญาไทย และเครื่อง  ถิ่น 4 ภูมิภาค เรื่องอาหาร ภูมิปัญญาไทย เครื่องปรุง

            ปรุงแกงเลียงได้                             แกงเลียง การผลิตและจ�าหน่าย
                 2.2  กลุ่มตัวอย่างที่ 2  เป็นผู้มารับบริการ     3.2  เครื่องแกงเลียงต้นแบบ 3 ครั้ง ปรุงเป็นแกง

            สุขภาพที่โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ชมรมผู้สูงอายุ 1   เลียงผัก 5 สี ผู้เข้าร่วมวิจัยครั้งละ 9 คน รวม 27 คน
            แห่ง และศูนย์บริการสาธารณสุข 1 แห่ง ในจังหวัด  และเค้าโครงการสัมภาษณ์ประเมินความชอบ เรื่อง สี
            กรุงเทพฯ ได้รับสารสนเทศการศึกษาพัฒนาเครื่อง  กลิ่น รสชาติ ลักษณะปรากฏ ความพอดีของแกงเลียง

            แกงเลียง เต็มใจทดลองบริโภคแกงเลียงผัก 5 สี ที่  เพื่อปรับปรุงสัดส่วน ใช้เครื่องแกงเลียงต้นแบบ 3 เป็น
            ปรุงจากต�ารับเครื่องแกงเลียงต้นแบบ 3 ครั้ง ครั้งละ   เครื่องแกงเลียงพร้อมปรุง
            9 คน รวม 27 คน                                   3.3  เครื่องแกงเลียงพร้อมปรุง ปรุงเป็นแกง

                 2.3  กลุ่มตัวอย่างที่ 3  เป็นผู้ชมนิทรรศการ  เลียงผัก 5 สี ครั้งละ 1 หม้อ มีปริมาณเครื่องแกง 500
            อาหารสุขภาพที่โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ได้รับ   กรัม น�้าซุป 2,000 มล. ผัก 5 สี 1,000 กรัม รวม 3,500
            สารสนเทศการศึกษาพัฒนาเครื่องแกงเลียง เต็มใจ  กรัม แบ่งตัก 10 ถ้วย  ถ้วยละ 350 กรัม ส�าหรับผู้เข้า

            ทดลองบริโภคแกงเลียงผัก 5 สี ที่ปรุงจากเครื่องแกง  ร่วมวิจัย 84 คน
            พร้อมปรุงจ�านวน 84 คน                            3.4    แบบสอบถามประเมินความชอบ 3 ส่วน

                 เกณฑ์การคัดเข้าร่วมการศึกษา            คือ 1) สถานะผู้ตอบ 2) การประเมินความชอบ เรื่อง
                   1)  บุคคลไม่จ�ากัดเพศ ช่วงวัยท�างาน วัย  กลิ่น สี รสชาติ ลักษณะปรากฏ และความพอดีของ
            ผู้ใหญ่ และวัยสูงอายุ อายุระหว่าง 26-75 ปี ไม่มี  แกงเลียงเป็นค่าตัวเลข 1-5 น้อยที่สุด-มากที่สุด 3)
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127