Page 120 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 120

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  603




            กระเทียม ข่า ตะไคร้ หอมแดง กระชาย พริกไทยและ  เต้าอ่อน ต�าลึง เห็ดฟาง หัวปลี และผักที่ขาดไม่ได้คือ
            ขิง สรรพคุณช่วยย่อย เพิ่มการเผาผลาญพลังงาน มี  ใบแมงลัก ท�าให้แกงเลียงมีกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์

            สารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยควบคุมไขมันและน�้าตาลใน  การกินแกงเลียงยังสัมพันธ์กับวัฒนธรรมหรือความ
            เลือด ป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด อาหาร  เชื่อท้องถิ่น เช่น แม่หลังคลอดจะได้รับประทานแกง
                                                                                        [9]
            ไทย 4 เมนูนี้ พบในทุกภูมิภาคของประเทศ       เลียงหัวปลีในช่วงอยู่ไฟ เพื่อช่วยบ�ารุงน�้านม  ในอดีต
                 คนไทยในอดีตกินอาหารเป็นส�ารับ นอกจาก   การดูแลแม่หลังคลอดช่วงอยู่ไฟ สตรีในครอบครัว
            กับข้าวและน�้าพริก ผัก ปลาย่างที่เป็นเครื่องจิ้ม ยังมี  เช่น แม่ ยายหรือแม่สามี จะปรุงแกงเลียงหัวปลีที่
            แกงเลียงหรือเรียกตามถิ่นแต่ก่อนว่า “เลียง’’ เป็น  ใช้เครื่องแกงที่ผสมปลาย่างแทนกุ้งแห้งที่เป็นของ

            กับข้าวง่าย ๆ ที่มีร่องรอยในประวัติศาสตร์มายาวนาน   ทะเล จัดให้แม่หลังคลอดกินอย่างน้อยวันละหนึ่งมื้อ
            จากการค้นพบอุปกรณ์ครัวโบราณของไทย มีครก     ปัจจุบันการอยู่ไฟเลือนหายไป แกงเลียงก็จางหายไป
            ดินเผาจากเตาเผาแถบสิงห์บุรี ปทุมธานี สุโขทัย ใช้  ด้วย การพัฒนาต�ารับเครื่องแกงเลียงตามต�ารับเดิม

            มาตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 19 ครกเล็ก ๆ นี้มีขนาด  จึงเป็นวิธีการหนึ่งในการสร้างเสริมสุขภาพสตรี [10]
                                                                           [11]
            ย่อม ๆ จะพอใช้โขลกพริกไทย (ก่อนที่พริกขี้หนูจะเข้า     มหาวิทยาลัยมหิดล  ให้ความรู้การกิน “แกง
            มาทีหลังในราวพุทธศตวรรษที่ 22) หัวหอม กระเทียม   เลียง’’ อาหารเป็นยา เพื่อปรับการท�างานของร่างกาย
            เพื่อปรุงเป็นน�้าพริก แล้วละลายน�้า ตั้งหม้อ ใส่ผัก กิน  ให้สมดุล การปรุงแกงเลียงตามฤดูกาลให้มีสรรพคุณ
            เป็นแกงง่าย ๆ คู่ส�ารับมายาวนาน นอกจากนั้น ใน  แตกต่างกัน เพื่อป้องกันหรือรักษาการเจ็บป่วยระยะ

            หนังสืออักขราภิธานศรับท์ของหมอบรัดเลย์ (พ.ศ.   เริ่มต้นได้ ฤดูร้อน อากาศร้อนจัด เกิดอาการร้อนใน
            2416) มีบันทึกนิยามความหมายของแกงเลียง ใน   ได้ง่าย กินผักที่ท�าให้ร่างกายรู้สึกเย็น เช่น ฟักเขียว

            สังคมไทยช่วงต้นรัตนโกสินทร์ไว้ชัดเจนว่า “แกงเลียง  น�้าเต้า บวบ ฤดูฝน อากาศชื้น มีอาการท้องอืดได้ง่าย
            เขาเอาปลาย่าง กะปิ เกลือ หัวหอม ต�าละลายน�้าเปนน�้า  กินผักที่มีรสเผ็ดร้อน เช่น ต้นข่าอ่อน ต้นกระทืออ่อน
            แกง แล้วตั้งไฟให้ร้อน ใส่ผักตามชอบใจ’’  แกงเลียง  เพิ่มเครื่องปรุงมีรสเผ็ดพอกินได้เพื่อให้ท้องอุ่น ฤดู
                                           [8]
            จึงเป็นภูมิปัญญาอาหารไทย ที่ควรฟื้นฟูให้เหมาะสม  หนาว อากาศเย็นแห้ง เกิดอาการท้องผูกได้ง่าย กินผัก
            กับวิถีชีวิตคนในยุคปัจจุบัน                 รสมัน เนื้อแข็งกรอบเพื่อเพิ่มกากใย เช่น ผักเหมียง
                 แกงเลียงพัฒนาต่อมาในภูมิภาคต่าง ๆ มีความ  ผักกูด ผักหวานป่า ผักหวานบ้าน เป็นต้น กินแกงเลียง

            แตกต่างกันบ้าง แต่ยังมีเค้าลักษณะร่วม เช่น เครื่อง  เป็นการกินผักมากขึ้นตามฤดูกาลของคนไทยทุกท้อง
            ปรุงไม่เน้นเนื้อสัตว์ใหญ่ ส่วนมากนิยมใส่เนื้อปลาย่าง  ถิ่น เป็นการดูแลสุขภาพที่ใช้สรรพคุณของสมุนไพร
            หรือกุ้งแห้งโขลก แกงเลียงมีลักษณะปรากฏ คือ น�้า  จากพืชผักต่าง ๆ ในท้องถิ่น

            แกงไม่ใสหรือข้นเกินไป รสชาติเค็มพอดี มีรสเผ็ดร้อน     การศึกษาประโยชน์ของแกงเลียงที่มีต่อสุขภาพ
                                                                       [12]
            จากพริกไทยแต่ไม่เผ็ดจัด เครื่องแกงเลียงมีพริกไทย   สุธาทิพ ภมรประวัติ  กล่าวว่าคนไทยใช้ยอดและใบ
            หอมแดง กระชาย ปลาย่างหรือกุ้งแห้งและกะปิเป็น  ต�าลึงปรุงในแกงต่าง ๆ เช่น แกงจืด แกงเลียง ใบต�าลึง
            หลัก ใช้สมุนไพรที่มีฤทธิ์ร้อน สรรพคุณกระจายธาตุ  มีเบตาแคโรทีนสูงมาก เป็นสารกลุ่มคาโรทีนอยด์ที่
            ลม เน้นผักพื้นบ้านที่หาได้ง่าย เช่น ฟักทอง บวบ น�้า  เปลี่ยนเป็นวิตามินเอ ท�าหน้าที่กรองแสงให้กับดวงตา
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125