Page 30 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 30

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  513





                    ผลการศึกษา:  ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ภายในสัปดาห์ที่ 4 ของการรักษาในกลุ่มผู้ป่วยที่มีลักษณะรอยโรค
               เป็นรอยถลอก ผู้ป่วยจ�านวน 3 คนใน 6 คน (50%) ในกลุ่มที่ได้รับน�้ายาบ้วนปากไตรแอมซิโนโลน อะเซโทไนด์ และ
               ผู้ป่วยจ�านวน 2 คนใน 8 คน (25%) ในกลุ่มที่ได้รับน�้ายาบ้วนปากไคโตซาน-เคอร์คูมินอยด์ ตรวจไม่พบรอยโรคและ
               ไม่มีอาการของโรค ในขณะที่ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีแผลอักเสบในช่องปาก ผู้ป่วยทั้ง 3 คน ในกลุ่มที่ได้รับน�้ายาบ้วนปาก
               ไตรแอมซิโนโลน อะเซโทไนด์ และผู้ป่วย 1 คน ในกลุ่มที่ได้รับน�้ายาบ้วนปากไคโตซาน-เคอร์คูมินอยด์ มีคะแนนความ
               รุนแรงของแผลอักเสบลดลงจาก 16 และ 11 เหลือ 5 และ 6 ตามล�าดับ ลักษณะเป็นเพียงรอยถลอก ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม
               การศึกษาไม่มีอาการปวดและปากแห้งภายในสัปดาห์ที่ 2 ของการรักษา ผลต้านการเกิดโคโลนีของเชื้อราแคนดิดา
               ในช่องปาก พบว่า ที่สัปดาห์ที่ 4 ของการรักษา ในกลุ่มที่ได้รับน�้ายาบ้วนปากไคโตซาน-เคอร์คูมินอยด์ มีจ�านวน
               ผู้ป่วยที่ตรวจพบเชื้อราในช่องปากลดลงจาก 7 ใน 9 คน (ร้อยละ 77.8) เป็นตรวจไม่พบเชื้อราทั้ง 7 คน และในกลุ่มที่
               ได้รับน�้ายาบ้วนปากไตรแอมซิโนโลน อะเซโทไนด์ มีจ�านวนผู้ป่วยที่ตรวจพบเชื้อราแคนดิดาในช่องปากลดลงจาก 8
               คนใน 10 คน (ร้อยละ 80) เป็น 6 คนใน 10 คน (ร้อยละ 60) โดยมีผู้ป่วย 2 คนเป็นผู้ที่ตรวจไม่พบการเกิดเชื้อราแคน
               ดิดาในช่องปากก่อนการรักษาแต่กลับพบการติดเชื้อราแคนดิดาซ�้าซ้อนในสัปดาห์ที่ 4 ของการรักษา ผู้ป่วยทั้งสอง
               กลุ่มการศึกษาไม่มีการกลับเป็นซ�้าของโรคเมื่อท�าการติดตามผลภายหลังการรักษานาน 6 เดือน
                    อภิปรายผล:  น�้ายาบ้วนปากไตรแอมซิโนโลน อะเซโทไนด์ มีประสิทธิภาพสูงในการต้านอักเสบแต่ไม่มีฤทธิ์
               ต้านเชื้อรา ในการศึกษานี้พบว่าน�้ายาบ้วนปาก 0.1% ไคโตซาน-เคอร์คูมินอยด์ที่ปราศจากแอลกอฮอล์มีประสิทธิภาพ
               เทียบเคียงกับน�้ายาบ้วนปาก 0.1% ไตรแอมซิโนโลน อะเซโทไนด์ในการจัดการอาการแสดงและอาการของโรคไลเคน
               แพลนัส ในช่องปากโดยมีระยะเวลาที่ไม่มีอาการของโรคและประสิทธิภาพในการลดอาการปวดแผลหรือความแห้ง
               ในช่องปากเทียบเคียงกัน ในทางตรงกันข้าม มีเพียงผู้ป่วยกลุ่มที่ได้รับน�้ายาบ้วนปากไคโตซาน-เคอร์คูมินอยด์เท่านั้น
               ที่หายจากการติดเชื้อราแคนดิดาอย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้น�้ายาบ้วนปากไคโตซาน-เคอร์คูมินอยด์อาจมีประสิทธิภาพ
               ในการลดอัตราการเกิดการกลับเป็นซ�้าของอาการโรคได้
                    ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ:  น�้ายาบ้วนปาก 0.1% ไคโตซาน-เคอร์คูมินอยด์ที่ปราศจากแอลกอฮอล์มีศักยภาพ
               ในการใช้เป็นยารักษาทางเลือกในผู้ป่วยโรคไลเคน แพลนัส ในช่องปากที่มีการติดเชื้อราแคนดิดาร่วม หรือในผู้ป่วย
               ที่เกิดการติดเชื้อราแคนดิดาซ�้าซ้อนระหว่างการใช้น�้ายาบ้วนปากไตรแอมซิโนโลน อะเซโทไนด์รักษาโรค

                    ค�ำส�ำคัญ:  โรคไลเคน แพลนัส ในช่องปาก, โรคราแคนดิดาในช่องปาก, เคอร์คูมินอยด์, ไคโตซาน, น�้ายาบ้วนปาก




                         Introduction                   Treatment for OLP is focused mainly on

                 Oral lichen planus (OLP) is a chronic   eliminating mucosal ulcerations, alleviating

            immunological inflammatory mucocutane-      pain during periods of activity and prolonging
            ous disease that is relatively common when   the remission period. Corticosteroids have a
            compared to other oral lesions. An erosive   highly potent anti-inflammatory efficacy by

            OLP is classified as a potentially malignant   completely inhibiting the arachidonic acid-
            disorder of the oral mucosa in which an ero-  dependent inflammatory pathway via inhi-

            sive type, female gender and  plaques form   biting phospholipase A 2 activity, thereby
            on the back of the tongue site are considered   blocking the synthesis of cyclooxygenase
            as risk factors for OLP transformation.     (COX) and lipoxygenase (LOX) enzymes
                                                  [1-2]
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35