Page 29 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 29
512 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
all seven of the nine patients (77.8%) with candida infection in the CHI-CUR mouthwash treatment group had a
complete anti-candida response and eight of the ten patients (80%) with candida infection in the TA mouthwash
treatment group were found candidiasis in six of the ten patients (60%) with two of the ten (20%) having candida
superinfection at 4-weeks during the treatment course. Disease relapse was not observed after 6-months follow-up
time in either intervention group.
Discussion: TA mouthwash exerted a high anti-inflammatory efficacy, but it has no antifungal activity. In
the present study, an alcohol free 0.1% CHI-CUR mouthwash was found to be as effective as 0.1% TA mouthwash
in managing the signs and symptoms of OLP with a comparable time to remission state and a comparable efficacy
in relief of pain or dryness of the oral cavity. On the contrary, a complete anticandidal response was found only in
patients using CHI-CUR mouthwash. In addition, CHI-CUR mouthwash could be effective in decreasing the rate
of symptom recurrence.
Conclusion and Recommendation: 0.1% alcohol-free CHI-CUR mouthwash may serve as a therapeutic
alternative in treating candida-associated OLP or OLP patients who have candida superinfection undergoing topical
corticosteroids therapy.
Key words: oral lichen planus, oral candidiasis, curcuminoids, chitosan, mouthwash
ประสิทธิภาพของน�้ายาบ้วนปาก 0.1% ไคโตซาน-เคอร์คูมินอยด์ในการรักษาโรค
ไลเคน แพลนัส ในช่องปากและการป้องกันการกลับเป็นซ�้าของโรค
‡
†
*,¶,#
§
ศิริมา มหัทธนาดุลย์ , กนกพร ปางสมบูรณ์ , มุสตาฟา วารก้า เมี่ยน , สุรีรัตน์ เจะและ
* สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต�าบลคอหงส์ อ�าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
† สาขาวิชาโอษฐวิทยา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต�าบลคอหงส์ อ�าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
‡ ภาควิชาเภสัชกรรม มหาวิทยาลัยฟอร์แมน คริสเตียน คอลเลจ ประเทศปากีสถาน
§ หน่วยจุลชีววิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต�าบลคอหงส์ อ�าเภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา 90110
ศูนย์วิจัยยาสมุนไพรและเทคโนโลยีขีวภาพทางเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต�าบลคอหงส์ อ�าเภอ
¶
หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
# ผู้รับผิดชอบบทความ: sirima.m@psu.ac.th
บทคัดย่อ
บทน�าและวัตถุประสงค์: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการรักษาของน�้ายาบ้วนปาก
0.1% ไคโตซาน-เคอร์คูมินอยด์ ที่ปราศจากแอลกอฮอล์ ซึ่งมีฤทธิ์ลดการอักเสบและฤทธิ์ต้านเชื้อรา ในการจัดการโรค
ไลเคน แพลนัส ในช่องปาก เปรียบเทียบกับน�้ายาบ้วนปากมาตรฐาน 0.1% ไตรแอมซิโนโลน อะเซโทไนด์ ซึ่งมีฤทธิ์
ลดการอักเสบ เพื่อเป็นข้อมูลการใช้ยาทางคลินิกในการใช้เป็นยาทางเลือกรักษาโรคไลเคน แพลนัส ในช่องปาก
วิธีการศึกษา: ท�าการศึกษาน�าร่องในรูปแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมแบบปกปิดทางเดียว ณ โรงพยาบาลทันต-
กรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2019 – เดือนเมษายน 2021 ผู้เข้า
ร่วมวิจัยมีอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยแล้วว่าเป็นโรคไลเคน แพลนัส จากทันตแพทย์สาขาอายุรศาสตร์
ช่องปาก ผู้ป่วยทั้งหมด 20 คน ถูกสุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่มให้ได้รับต�ารับน�้ายาบ้วนปากไคโตซาน-เคอร์คูมินอยด์ หรือน�้ายา
บ้วนปากไตรแอมซิโนโลน อะเซโทไนด์ โดยใช้บ้วนปากครั้งละ 5 มิลลิลิตร เป็นเวลา 2 นาที วันละ 4 ครั้ง ติดต่อกัน
เป็นเวลา 4 สัปดาห์ วัดผลลัพธ์หลักทางการวิจัยในด้านการลดระดับความรุนแรงของการเกิดรอยโรค การลดจ�านวน
ของการเกิดโคโลนีของเชื้อราในช่องปาก และการเกิดการกลับเป็นซ�้าของโรค